กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 1 นครพนม ตำบลหนองฮี อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
วันที่อนุมัติ 14 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 50,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนครพนม
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ดังนั้น สิ่งสําคัญที่สุดในช่วงนี้ ทุกคน ไม่ว่า ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรของสถานศึกษา ต้องปรับตัวกับการใช้ชีวิตวิถีใหม่ “New Normal” เน้นการปฏิบัติภายใต้มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่างเคร่งครัด เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยองค์การอนามัยโลกประจําประเทศไทย (WHO Thailand) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติประจําประเทศไทย (UNICEF) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) และผู้เชี่ยวชาญจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้บูรณาการและร่วมกันพัฒนา “คู่มือการปฏิบัติ สําหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19” ขึ้น ทั้งนี้แนวทางการเปิด-ปิดภาคเรียนปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1/2564 เปิดเรียน 1 มิ.ย.2564 - 8 ต.ค. 2564 จำนวนวันเรียน 130 วันปิดภาคเรียน 18-31 ต.ค. 2564 รวม 14 วัน ภาคเรียนที่ 2/2564เปิดเรียนตั้งแต่ 1 พ.ย. 2564 - 11 มี.ค. 2565จำนวนวันเรียน147วันปิดภาคเรียน 10 เม.ย.-16 พ.ค. 2565รวม 36 วัน ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด9ในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม “คู่มือการปฏิบัติ สําหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19” จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 50,000.00 0 0.00
14 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 0 50,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทำให้สามารถเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม "คู่มือการปฏิบัติ สำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 " ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มิ.ย. 2564 13:30 น.