กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5ปี ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L4114-01- 13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดูซงกูจิ
วันที่อนุมัติ 15 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 20,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอฮานา ยานยา
พี่เลี้ยงโครงการ มาเรียม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 ก.ค. 2564 20,800.00
รวมงบประมาณ 20,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 40 20,800.00 0 0.00
15 มิ.ย. 64 .กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน พร้อมแปรผลการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก0-5 ปี (วันที่1- 30 กรกฎาคม 2564) 40 20,800.00 -

1.กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน พร้อมแปรผลการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก0-5 ปี (วันที่1- 30 กรกฎาคม 2564) -ค่าอาหารเสริม(นมสดไทยเดนมาร์กรสจืดขนาด 125 มล) 340 บาทx40 คน  เป็นเงิน 13,600 บาท -ค่าอาหารเสริม(ไข่ไก่)  40 คนX1 แผงx100 บาท          เป็นเงิน  4,000 บาท

-ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ขนาด 2x2 เมตร(800 x 4 ผืน)    เป็นเงิน 3,200 บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของเด็ก0-5ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ 2.ร้อยละ 60 ของเด็กเด็ก0-5ปี มีภาวะโภชนาการที่ดี สูงดี สมส่วน 3.ร้อยละ 85 ของเด็ก0-5ปี มีพัฒนาการสมวัย
๔.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2564 11:42 น.