กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว


“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ประจำปี 2561 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนาริน เสียมไหม

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ประจำปี 2561

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1482-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ประจำปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความรู้ ปรับทัศนคติและสร้างศักยภาพผู้ปกครองในการสื่อสารเรื่องเพศในวัยรุ่น (2) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความเข้าใจถึงความจำเป็นในการสอนเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธ์ สามารถพูดคุยเรื่องเพศกับบุตรหลานวัยรุ่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 100 จากการสังเกตการทำกิจกรรมต่าง ๆ และการสอบถามความคิดเห็นและตอบข้อคำถามสำรวจทัศนคติ ได้แก่ 1-6,11 และข้อ14 มีแนวโน้มที่ดีต่อทัศนคติเกี่ยวกับเพศ และมีความพึงพอใจต่อการเข้ารับการอบรมในครั้งนี้ในระดับดีมาก

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่า วัยรุ่นไทยมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ส่วนใหญ่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ส่งผลให้เกิดปัญหาการตั้งตรรภ์ในวัยรุ่น การทำแท้ง และการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มสูงขึ้น สาเหตุส่วนใหญ่มาจากวันรุ่นขาดความรู้ ทักษะในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ขาดความเข้สใจในการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง วัยรุ่นไม่มีที่ปรึกษาและไม่กล้าพูดคุยกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง อีกทั้งพ่อแม่ผู้ปกครองยังเห็นว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องที่ยังไม่ควรพูดถึงและไม่กล้าที่จะเริ่มพูดคุยกับลูกหลาน มักปล่อยให้เป็นการเรียนรู้เองในกลุ่มเพื่อนทำให้วัยรุ่นได้รับข้อมูลไม่ถูกต้อง เกิดความเชื่อและปฏิบัติตนที่ผิดพลาด การป้องกันและแก้ไขปัญหานี้จึงมีความสำคัญและมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2559 อัตราการฝากครรภ์กลุ่มหญิงมีครรภ์ทั้งหมด 20 ราย พบ หญิงมีครรภ์ครั้งแรก อายุต่ำกว่า 20ปีจำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตรา ร้อยละ 10และเดือนตุลาคม 2559- เดือนเมษายน 2560 อัตราการฝากครรภ์กลุ่มหญิงมีครรภ์ทั้งหมด 26 ราย พบ กลุ่มหญิงมีครรภ์ต่ำกว่า20ปี มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตรา ร้อยละ 8.33 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาวจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัวขึ้น เพื่อมุ่งหวังการให้ความรู้และทัศนคติเรื่องเพศในครอบครัว มุ่งเน้นให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้มีการพูดคุยเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในครอบครัว ซึ่งครอบครัวแม้จะเป็นหน่วยเล็กๆของสังคมแต่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมและปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความรู้ ปรับทัศนคติและสร้างศักยภาพผู้ปกครองในการสื่อสารเรื่องเพศในวัยรุ่น
  2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความเข้าใจถึงความจำเป็นในการสอนเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธ์ สามารถพูดคุยเรื่องเพศกับบุตรหลานวัยรุ่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.มีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันของทุกคนในครอบครัว พ่อ แม่ ลูกเข้าใจกันและเข้าใจในความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูกและลูกที่มีต่อพ่อแม่ เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ในครอบครัว

    2.เป็นเกราะป้องกันภัยอันตรายในรูปแบบต่างๆที่จะมาคุกคามคุณภาพชีวิตของบุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะลูก

    3.ทำให้ลูกเกิดความเชื่อมั่นในการดำเนินชีวิตต่อไปในอนาคต

    4.พ่อแม่มีความภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้ลูกเดินไปในทางที่ถูกที่ควร สมกับที่ได้ตั้งความหวังไว้

    5.เป็นการป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่เหมาะสมขึ้น

    6.สร้างความสัมพันธภาพในครอบครัวให้แน่นแฟ้น และเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเพิ่มความรู้ ปรับทัศนคติและสร้างศักยภาพผู้ปกครองในการสื่อสารเรื่องเพศในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มมากขึ้น

     

    2 เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความเข้าใจถึงความจำเป็นในการสอนเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธ์ สามารถพูดคุยเรื่องเพศกับบุตรหลานวัยรุ่นได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 20 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความรู้ ปรับทัศนคติและสร้างศักยภาพผู้ปกครองในการสื่อสารเรื่องเพศในวัยรุ่น (2) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความเข้าใจถึงความจำเป็นในการสอนเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธ์ สามารถพูดคุยเรื่องเพศกับบุตรหลานวัยรุ่นได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 100 จากการสังเกตการทำกิจกรรมต่าง ๆ และการสอบถามความคิดเห็นและตอบข้อคำถามสำรวจทัศนคติ ได้แก่ 1-6,11 และข้อ14 มีแนวโน้มที่ดีต่อทัศนคติเกี่ยวกับเพศ และมีความพึงพอใจต่อการเข้ารับการอบรมในครั้งนี้ในระดับดีมาก

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ประจำปี 2561 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1482-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนาริน เสียมไหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด