กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านทุ่งโพธิ์ "หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะ"
รหัสโครงการ 66-L5192-2-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งโพธิ์
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 43,445.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางสมจิต คงสีแก้ว 2.นางชูศรี เพชรช่วย 3.นางจิราภรณ์ สกุลหนู 4.นางภิญโญ วงศ์นคร 5.นางพยอม บกเขาแดง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านทุ่งโพธิ์ ม.5 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 ก.ค. 2566 28 ก.ค. 2566 43,445.00
รวมงบประมาณ 43,445.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
7.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
10.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
10.00
4 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสภาพปัจจุบันชุมชน บ้านเรือนที่อยู่อาศัยและประชาชนเพิ่มขึ้นจะมีปัญหาในเรื่องขยะที่นับวัน ปริมาณขยะจะเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว และก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทำให้ชุมชนไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดูไม่เป็นระเบียบไม่สะอาดและเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ เช่น โรคระบบทางเดินอาหารที่มีน้ำและอาหารเป็นสื่อ หรือสารพิษจากขยะที่เป็นสารเคมี เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะ ให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นาไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้างก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเภทนั้น ๆ
ดังนั้น หากมีการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ การจัดการขยะอย่างเหมาะสม ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ มีการนำกลับมาใช้ประโยชน์ โดยมีการสร้างแกนนำให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ จึงมีความต้องการที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจการลด คัดแยก นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ และเสริมสร้างศักยภาพให้กับแกนนำ เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อจะได้สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง และเป็นชุมชนต้นแบบในการจัดการขยะมูลฝอยต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 มีครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดมีการคัดแยกขยะเป็นประจำ

7.00 100.00
2 มีครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดมีการใช้ประโยชน์จากขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

10.00 100.00
3 มีครัวเรือนมีการนำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า เพิ่มขึ้น

ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดมีการนำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

10.00 20.00
4 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

เกิดกลุ่มในการจัดการขยะในชุมชน

0.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 43,445.00 0 0.00
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 รณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือน 0 13,500.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ธนาคารขยะ 0 5,525.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ 0 19,500.00 -
26 เม.ย. 66 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ3Rs การใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือน 0 4,100.00 -
20 ก.ค. 66 บ้านต้นแบบการจัดการขยะในครัวเรือน 0 820.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำเพิ่มขึ้น
  2. ครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
  3. ครัวเรือนมีการนำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
  4. เกิดหมู่บ้านต้นแบบและศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 มิ.ย. 2564 10:53 น.