กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564 ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวปานณัฏฐา ฝันเชียร




ชื่อโครงการ สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5251-1-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5251-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) คือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัส SAR-COV-2 (ไวรัส COVID-19) ที่สามารถแพร่กระจายผ่านการสัมผัสพื้นผิวที่มีการปนเปื้อนละอองฝอยขนาดใหญ่ (Droplet) จากทางเดินหายใจเป็นหลัก และข้อมูลที่ได้รับการยืนยันล่าสุดจากองค์การอนามัยโลก เมื่อวันที่ พบว่าเชื้อสามารถแพร่กระจายผ่านทางอากาศ (Airborne) ได้ โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับบุคคลที่ติดเชื้อในสถานที่ปิดและแออัด สามารถแพร่กระจายได้ไกลมากกว่า 1 เมตร และสามารถมีชีวิตอยู่ในอากาศได้ถึง 3 ชั่วโมง (Julian และคณะ, 2021) และอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้เป็นระยะเวลานาน 2 ชั่วโมง ถึง 9 วัน ขึ้นอยู่กับแต่ละสภาพพื้นผิว (กรมอนามัย, 2564)       การทำความสะอาดพื้นที่ผิวสัมผัสที่ถูกต้องตามหลักการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ สามารถกำจัดหรือลดเชื้อโรคบนพื้นผิวที่มีการปนเปื้อนได้อย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งเป็นขั้นตอนแรกในกระบวนการฆ่าเชื้อใดๆ การทำความสะอาดด้วยน้ำสบู่หรือผงซักฟอก และการใช้แรงกระทำ (การแปรงหรือขัด) สามารถขจัดและลดสิ่งสกปรก เศษซาก และสารอินทรีย์และสิ่งปฏิกูลได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถฆ่าเชื้อได้ เนื่องจากสารอินทรีย์บางชนิดอาจทำให้สารฆ่าเชื้อไม่อาจสัมผัสพื้นผิวได้โดยตรง หรือการออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อของสารฆ่าเชื้อทำได้อย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้นอกเหนือจากการทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว ชนิดของสารฆ่าเชื้อ ความเข้มข้น ระยะเวลาที่สารฆ่าเชื้อสัมผัสกับพื้นผิว ยังส่งผลต่อประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิวเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นหลังทำความสะอาดแล้ว จึงต้องใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ เช่น คลอรีนหรือแอลกอฮอล์ ฆ่าเชื้อที่ยังหลงเหลืออยู่ (WHO, 2020)
      ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลาในปัจจุบัน (เดือนพฤษภาคม 2564 เป็นต้นมา) มีจำนวนของผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนหนึ่งมาจากคลัสเตอร์แรงงานของโรงงานและผู้สัมผัสใกล้ชิดจำนวนมาก ที่ดำรงชีวิตและพักอาศัยในพื้นที่ตำบลสำนักขาม ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลสำนักขามมีความเสี่ยงเป็นอย่างยิ่งที่อาจได้รับสัมผัสเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้
      งานควบคุมโรคและงานสุขาภิบาล เทศบาลตำบลสำนักขาม ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการจัดทำแผนงานโครงการดังกล่าวนี้ขึ้น เพื่อจัดให้มีทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการการสนับสนุนการดำเนินงานของบุคลากรในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลสำนักขาม รวมไปถึงการเผยแพร่ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติตน การดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล และการจัดการขยะติดเชื้อจำพวกหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานของบุคลากรในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลสำนักขาม
  2. 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความตระหนักในการรักษาความสะอาด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการการเฝ้าระวังและป้องกัน รวมไปถึงวิธีการปฏิบัติตนและดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง และการจัดการขยะติดเชื้อ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการการสนับสนุนการดำเนินงานของบุคลากรในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลสำนักขาม
            2. ประชาชนมีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)       3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการการเฝ้าระวังและป้องกัน รวมไปถึงวิธีการปฏิบัติตนและดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง และการจัดการขยะติดเชื้อ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้มีทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานของบุคลากรในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลสำนักขาม
    ตัวชี้วัด : บุคลากรสามารถปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันการแพร่ระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสารทำความสะอาด วัสดุอุปกรณ์ในการทำความสะอาด และเครื่องแต่งกายในการป้องกันการติดเชื้อขณะปฏิบัติหน้าที่ รวมไปถึงการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดให้กับชุมชนที่มีความเสี่ยงในเบื้องต้นได้
    1.00

     

    2 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความตระหนักในการรักษาความสะอาด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถป้องกันตนเอง และปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) อย่างเคร่งครัด ทั้งการสวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้าทุกครั้งเมื่อออกนอกเคหะสถานไปในที่ชุมชน มีสุขลักษณะในการล้างมือบ่อยๆ รักษาระยะห่างระหว่างกันอย่างน้อง 1-2 เมตร เป็นต้น
    1.00

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการการเฝ้าระวังและป้องกัน รวมไปถึงวิธีการปฏิบัติตนและดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง และการจัดการขยะติดเชื้อ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจถึงประเภท การเตรียมอุปกรณ์และสารทำความสะอาดเพื่อฆ่าเชื้อ วิธีการทำความสะอาดและฆ่า และข้อควรระวังในการใช้งานสารทำความสะอาดแต่ละประเภท รวมไปถึงการจัดการขยะติดเชื้อ
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานของบุคลากรในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลสำนักขาม (2) 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความตระหนักในการรักษาความสะอาด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) (3) 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการการเฝ้าระวังและป้องกัน รวมไปถึงวิธีการปฏิบัติตนและดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง และการจัดการขยะติดเชื้อ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สำนักขามร่วมใจเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปี 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5251-1-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปานณัฏฐา ฝันเชียร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด