กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน


“ โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายซัมรี มะแอ

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2486-5-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส (2) เพื่อหยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (3) เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน แก่ผู้ถูกควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ จังหวัดที่มีการระบาด หรือพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส และสำหรับผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก“Coronavirus disease 2019” ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) อันเป็นโรคติดต่ออันตราย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข จากข้อมูลกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 19 เมษายน 2564 มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน 141,124,378 ราย รักษาหายแล้ว จำนวน 120,531,685 ราย เสียชีวิต จำนวน 3,017,555 ราย และสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทย พบผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ 1,390 ราย ผู้ป่วยสะสม จำนวน 43,742 ราย รักษาหายแล้ว จำนวน 28,787 ราย และเสียชีวิตสะสม จำนวน 104 ราย (สถานการณ์ในประเทศไทยวันที่ 19 เมษายน 2564) สำหรับจังหวัดนราธิวาส มีรายงานการพบผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ ทั้งในเรือนจำนราธิวาสและในชุมชนเป็นจำนวนมาก ประกอบกับองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน เป็นพื้นที่ติดต่อกับชายแดนรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีการลักลอบหนีกลับเข้าประเทศไทยของแรงงาน ซึ่งมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อในวงกว้าง จึงมีการเร่งปฏิบัติการเชิงรุกลงพื้นที่สร้างความตระหนักรู้แก่ชุมชนในพื้นที่ เฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่กระจายของโรค COVID-19 พร้อมแนะนำประชาชน "อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ" การให้ความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงสูง เช่น ประเทศมาเลเซีย กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นต้น การจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564 โดยพิจารณาดำเนินการตามหนังสือสั่งการ ดังนี้ 1. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 1842 ลงวันที่ 26 มีนาคม 2563 เรื่อง แนวทางในการดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ การใช้จ่ายงบประมาณเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อและการรักษาพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019) 4. หนังสือจังหวัดนราธิวาส ด่วนที่สุด ที่ นธ 0023.3/ว 3740 ลงวันที่ 3 เมษายน 2563 เรื่อง แนวทางการจัดหาอาหารในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019) 5. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 6. หนังสือจังหวัดนราธิวาส ด่วนที่สุด ที่นธ 0023.3/ว 1980 ลงวันที่ 20 เมษายน 2564 เรื่อง การจัดเตรียมสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ให้พร้อมรับสถานการณ์ 7. หนังสือจังหวัดนราธิวาส ด่วนที่สุด ที่ นธ 0023.10/ว 1642 ลงวันที่ 29 เมษายน 2564 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) กรณีการตั้งโรงพยาบาลสนามระดับพื้นที่ 8. คำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ที่ 153/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานประจำศูนย์สถานที่กักกัน (Local Quarantine) องค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน 9. คำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ที่ 154/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ประจำศูนย์สถานที่กักกัน (Local Quarantine) องค์การบริหารส่วนตำบลไพรวันในวันหยุดราชการ 10. หนังสือจังหวัดนราธิวาส ที่ นธ 0618/ว1948 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 เรื่อง การปรับเปลี่ยนสถานที่กักกัน และตามที่สำนักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ได้รับงบเงินอุดหนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน เพื่อใช้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ดังนี้ (1) วัสดุที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เช่น ถุงมือยางหรือหนัง ผ้าปิดจมูก รองเท้ายางหุ้มส้นสูงใต้เข่า (รองเท้าบู๊ต) หรือเสื้อกันฝน (2) เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม และประหยัดโดยพิจารณาดำเนินการตามคู่มือปฏิบัติงาน ประกาศ และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ดังนี้ 1. คู่มือปฏืบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ. 2561) ข้อ 10 (5) วรรค 3 2. ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) ข้อ 10/1 3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2561 หมวด 4 การเบิกเงิน ข้อ 52 ดังนั้น เพื่อลดอัตราการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ตำบลไพรวัน และควบคุม ดูแล ป้องกันโรค จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคและเตรียมสถานที่กักกันควบคุมเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยสำหรับผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้มีความพร้อมเพื่อรองรับผู้ป่วยที่คาดการณ์ว่าจะมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน จึงได้จัดทำการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
  2. เพื่อหยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019
  3. เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน แก่ผู้ถูกควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ จังหวัดที่มีการระบาด หรือพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส และสำหรับผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 27
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) อำเภอตากใบ
  2. หยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส
  3. มีอุปกรณ์สำหรับผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์
  4. มีอุปกรณ์ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน แก่ผู้ถูกควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจาก ต่างประเทศ จังหวัดที่มีการระบาด หรือพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวันมีสถานที่กักกัน
100.00

 

2 เพื่อหยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนสามารถหยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019
100.00

 

3 เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน แก่ผู้ถูกควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ จังหวัดที่มีการระบาด หรือพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส และสำหรับผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ถูกกักกันมีอุปกรณ์ที่จำเป็นใช้ในชีวิตประจำวัน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 27
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส (2) เพื่อหยุดการแพร่เชื้อในชุมชน สร้างความตระหนัก และเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (3) เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน แก่ผู้ถูกควบคุมเพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ จังหวัดที่มีการระบาด หรือพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส และสำหรับผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกันกลุ่มเสี่ยงองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน (Local Quarantine) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2486-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซัมรี มะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด