กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L5222-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านขาว
วันที่อนุมัติ 18 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 131,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวรรณรพ ส่องสว่าง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.761,100.247place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 มิ.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 131,000.00
รวมงบประมาณ 131,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4528 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สถานการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2562 ณ วันที่ 7 พ.ย. 2562 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก สะสมรวม 101,128 ราย อัตราการป่วย 152.53 ต่อแสนประชากร จำนวนผู้เสียชีวิต ทั้งหมด 121 ราย เพศชาย 61 คนและเพศหญิง 30 ราย ทั้งนี้ การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พ
4,528.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย กำจัดลูกน้ำ และลดจำนวนยุงลายตัวเต็มวัย

ทุกครัวเรือนในพื้นที่ตำบลบ้านขาว ได้รับการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

0.00
2 เพื่อลดอัตราการป่วย และการสูญเสียชีวิตของประชาชนเนื่องจากโรคไข้เลือดออก

อัตราการเจ็บป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติงบประมาณ 2.ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 3.จัดเตรียม/จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับใช้ในการดำเนินงานเพื่อให้มีความพร้อม 4.ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการทั้งกิจกรรมรณรงค์และกิจกรรมกำจัดยุงลายผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน 5.ดำเนินงานตามโครงการ -กิจกรรมกำจัดยุงลาย 1 ระยะ -กิจกรรมกำจัดลูกน้ำ 1 ระยะ 6.สรุปและรายงานผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนเกิดความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจ รู้จักวิธีควบคุม เฝ้าระวัง และป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนตระหนักถึงการใช้วัตถุสิ่งของ ตลอดจนภาชนะที่มีน้ำขังและเป็นที่วางไข่ของยุงและที่อยู่อาศัยของลูกน้ำซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายถูกเก็บ คว่ำ ทำลาย ส่งผลให้ยุงลายตัวเต็มวัยในครัวเรือน วัด โรงเรียน และชุมชนลดลง
  3. ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม และมีบทบาทในการช่วยกันเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในชุมชนมากขึ้น
  4. การแพร่ระบาดของโรค  อัตราป่วย และการสูญเสียชีวิตของประชาชนเนื่องจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2564 10:20 น.