กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 42/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.7 มีปัญหาฟันถาวรผุ ร้อยละ 52 โดยพบว่ามีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 31.5 มีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 12.2 เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.7 และเคยหยุดเรียนเพราะไปทำฟัน ร้อยละ 12.2 มีเพียงร้อยละ 48 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีรวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็ก แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านการแปรงฟัน เพียงร้อยละ 9.5 แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 59.7 และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสี่ยง ได้แก่ ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 52 กินขนมกรุบกรอบ และลูกอม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 28.9 และ 21.4 ตามลำดับ (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2564) บริโภคขนมเหล่านี้ สำหรับกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงานอีกทั้งยังพบปัญหาเหงือกอักเสบ ร้อยละ 50.1 เกิดร่วมกับหินน้ำลายและเริ่มเป็นโรคปริทันต์ที่มีร่องลึก 4-5 มิลลิเมตร ร้อยละ 19.8 โดยเฉพาะหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่ในช่วงวัยที่มีบุตรได้ โดยทั่วไปจะมีอายุตั้งแต่ 15–49 ปี และผู้ที่มีฟันผุยังไม่ไปรับการรักษา ร้อยละ 47.4 นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมการดูแลความสะอาดในช่องปากที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุในหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ พฤติกรรมและความถี่ในการแปรงฟันเนื่องจากผลของการตั้งครรภ์ทำให้มีอาการอาเจียนบ่อยๆ ทำให้ไม่สะดวกในการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันทำความสะอาดซอกฟัน
    สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าปัญหาหลัก คือ ไม่มีฟันธรรมชาติเหลือพอในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันเหลืออยู่ในช่องปากเฉลี่ย 4 ใน 6 ส่วนต่อคน มีการสูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ ร้อยละ 83 สูญเสียฟันทั้งปาก ร้อยละ 7.2 โดยกลุ่มวัยนี้มีความจำเป็นในการรักษา พบว่า ความจำเป็นสูงสุดอันดับแรก คือ การถอนฟัน ร้อยละ 53.6 สำหรับการใส่ฟันเทียมทั้งปาก พบว่า ร้อยละ 6.5 และเพิ่มขึ้นชัดเจนเป็นร้อยละ 18.9 และยังพบปัญหา ฟันผุ รากฟันผุ โรคปริทันต์ มะเร็งช่องปาก ภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะในช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพช่องปากใน ทุกกลุ่มวัยอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก จึงได้จัดทำโครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564 เพื่อให้ความรู้โรคในช่องปากและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับทุกช่วงอายุ เพื่อให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแล้วยังมีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะและการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายกลุ่มวัยเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
  3. 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมในกลุ่มเด็กวัยเรียน
  2. 2.กิจกรรมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  3. 3.กิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
    1. เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
  2. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะและการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายกลุ่มวัยเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะและการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายกลุ่มวัยเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ (3) 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมในกลุ่มเด็กวัยเรียน (2) 2.กิจกรรมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (3) 3.กิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันดี ชีวีสุขทุกช่วงวัย ประจำปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด