กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ


“ โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19 ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางคันธจุฬาลักษณ์ช. ปลอดฟัก

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3331-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3331-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,056.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ความต้องการใช้หน้ากากอนามัยเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว เพราะนอกจากหน้ากากอนามัยจะถูกใช้ทางการแพทย์ ในปริมาณที่มากขึ้นเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อแล้ว ประชาชนทั่วไปยังมีความต้องการใช้หน้ากากอนามัยมากขึ้นเพื่อป้องกันเชื้อ COVID-19 อีกด้วย เนื่องจากประชาชนหันมาสวมใส่หน้ากากอนามัยเพิ่มขึ้น เพราะหวาดกลัวการระบาดของ COVID-19 จะเห็นว่าความต้องการใช้หน้ากากอนามัยเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว นั่นหมายความว่าในแต่ละวันปริมาณขยะที่เกิดจากหน้ากากอนามัยที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งมีจำนวนมากขึ้นด้วยเช่นกัน หน้ากากอนามัยเป็นขยะติดเชื้อ หากทิ้งและกำจัดไม่ถูกต้องอาจรั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อมได้
หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจัดได้ว่าเป็นขยะติดเชื้อ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น้ำลาย น้ำมูกของบุคคลผู้ใช้ และอาจยังปนเปื้อนเชื้อโรคจากบุคคลที่ป่วย หรือผู้เป็นพาหะนำโรคได้ ถ้าหากหน้ากากอนามัยเหล่านี้ไม่ได้รับการคัดแยกอย่างถูกวิธี ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชน จะส่งผลให้พนักงานที่ทำหน้าที่เก็บขนขยะมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อ COVID-19 และเมื่อขยะถูกนำไปกำจัดด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น เทกองกลางแจ้ง ก็อาจเพิ่มโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชนทั้งทางน้ำและทางอากาศ
จึงมีความจำเป็นต้องคัดแยกหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป เพื่อเก็บขนไปยังสถานที่สำหรับกำจัดมูลฝอยติดเชื้อต่อไปตามแนวทางที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 ไม่ใช่ดำเนินการแบบขยะชุมชน ซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายและติดเชื้อไวรัสได้มากขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อจึงจัดให้มีถังขยะรองรับหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว (ถังสีแดง) สำหรับทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วโดยเฉพาะและติดสัญลักษณ์รูปภาพข้อความที่สื่อถึงหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วตามจุดรวบรวมที่สามารถเห็นได้ชัดเจน และเน้นการสร้างความตระหนัก ให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี โดยแนะนำให้ประชาชนนำหน้ากากอนามัย ที่ใช้แล้วบรรจุใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น พร้อมติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพื่อให้รถเก็บขนขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก็บขนไปกำจัดอย่างถูกวิธีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19จากการปนเปื้อนขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดหาถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว
  2. กิจกรรมสร้างความตระหนัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไปในชุมชนทั้ง 8 ชุมชน 4,000

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ไม่เกิดการแพร่กระจายของโรคโควิด-19จากการปนเปื้อนขยะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสร้างความตระหนัก

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การคัดแยกหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว /การคัดแยกขยะ  ผ่านไวนิลประชาสัมพันธ์  โดยติดตั้งพร้อมถังขยะสีแดง  และผ่านรถประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนทุกชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจการคัดแยกหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว

 

8 0

2. จัดหาถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว

วันที่ 22 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว ทุกชุมชน ๆละ 1 ถัง จำนวน 8 ถัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว ทุกชุมชน ๆละ 1 ถัง 2.ไม่มีหน้ากากอนามัยใช้แล้วตกค้างในชุมชน

 

8 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19จากการปนเปื้อนขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว ทุกชุมชน ๆละ 1 ถัง 2.ไม่เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19จากการปนเปื้อนขยะ
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนทั่วไปในชุมชนทั้ง 8 ชุมชน 4,000

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19จากการปนเปื้อนขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาถังขยะสีแดงสำหรับใส่หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว (2) กิจกรรมสร้างความตระหนัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะ(หน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าใช้แล้ว)เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคโควิด-19 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3331-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคันธจุฬาลักษณ์ช. ปลอดฟัก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด