กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮายานิ่ง เปาะแต

ชื่อโครงการ โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-64-05-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มิถุนายน 2564 ถึง 15 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2498-64-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มิถุนายน 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้  สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรงแต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง1-3% น้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10% ปัจจุบันสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ระลอกใหม่ ข้อมูลวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ในจังหวัดนราธิวาสมีผู้ป่วยสะสม 1,569 ราย เสียชีวิต 4 ราย อำเภอยี่งอ มีผู้ป่วยสะสม 40 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต โดยเฉพาะตำบลยี่งอมีคลัสเตอร์ใหม่ที่ต้องควบคุมคือ คลัสเตอร์มัรกัสยี่งอ มีที่ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านลุโบะตาแซ ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของ อบต.ยี่งอ พบผู้ป่วย 22 ราย กำลังรอผลตรวจ 24 ราย ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮออล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ แต่เมื่อมีการแพร่ระบาดในชุมชนใดก็ตามจึงจำเป็นต้องควบคุมการเคลื่อนย้ายประชากรให้อยู่ในพื้นที่ เพื่อไม่ให้ประชาชนในพื้นที่ระบาดไม่สามารถนำเชื้อไปแพร่ไปชุมชนอื่นๆ จึงจำเป็นต้องมี ผู้ที่ทำหน้าที่สกัดกั้นการเข้า – ออก ของประชาชนในชุมชนที่ถูกควบคุม อสม.จึงต้องมีบทบาทในการทำหน้าที่ดังกล่าว ด้วยเหตุผลที่ อสม.เป็นผู้ที่รู้จักบุคคลในพื้นที่ รู้จักสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ มีความเข้าใจในเรื่องการสาธารณสุขเบื้องต้น โดยทำหน้าที่ร่วมกับ จนท.ฝ่ายปกครอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดโรค COVID-19 จากชุมชนที่มีการแพร่ระบาด ไม่ให้แพร่ระบาดไปสู่ชุมชนอื่น
  2. 2. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนให้รับรู้ถึงมาตรการของรัฐ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อยู่เวรประจำจุดควบคุมการเข้า – ออกของชุมชนที่มีการแพร่ระบาดโรค COVID-19 เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค คัดกรองและสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่ต้องการเข้า – ออกพื้นที่ควบคุม และช่วยเหลือ จนท.สาธารณสุขที่เข้าพื้นที่ค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,089
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ให้อยู่ในพื้นที่จำกัดไม่ขยายวงกว้าง
  2. ประชาชนมีการรับรู้และเข้าใจในมาตรการที่ภาครัฐดำเนินการเรื่องโรค Covid-19
  3. กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและหาเชื้อเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค Covid-19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดโรค COVID-19 จากชุมชนที่มีการแพร่ระบาด ไม่ให้แพร่ระบาดไปสู่ชุมชนอื่น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนให้รับรู้ถึงมาตรการของรัฐ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7089
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,089
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดโรค COVID-19 จากชุมชนที่มีการแพร่ระบาด ไม่ให้แพร่ระบาดไปสู่ชุมชนอื่น (2) 2. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนให้รับรู้ถึงมาตรการของรัฐ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อยู่เวรประจำจุดควบคุมการเข้า – ออกของชุมชนที่มีการแพร่ระบาดโรค COVID-19 เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค คัดกรองและสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่ต้องการเข้า – ออกพื้นที่ควบคุม และช่วยเหลือ จนท.สาธารณสุขที่เข้าพื้นที่ค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-64-05-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮายานิ่ง เปาะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด