กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.จะแหน
รหัสโครงการ 005/2564
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจะแหน
วันที่อนุมัติ 24 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 95,437.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุมาลี สะแลมัน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.517,100.962place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ด้วยสถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ช่วงเดือนเมษายน จวบจนปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้างส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด 19 จำนวนมากว่าวันละ 1000 ทำให้การจะรับการรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ตลอดจนอาการป่วยโค
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของ ประชาชน.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 50.00 100.00 2 เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของประชาชนที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง 50.00 100.00

 

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 25 95,437.00 0 0.00
24 มิ.ย. 64 จัดอุปกรณ์ ให้ผู้กักตัว และค่าเบี้ยเลี้ยง สำหรับผู้ดูแลผู้กักตัว 25 95,437.00 -

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ ขึ้นทะเบียนกับผู้ใหญ่บ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ควบคุมโรคของพื้นที่ ประเมินสภาวะสุขภาพของบุคคลที่มาจากที่อื่น ค่าใช้จ่าย 1.ค่าจัดบริการกักตัวบุคคลที่สงสัยเดินทางจากพื้นที่มีความเสี่ยง จำนวน 18 คน x 150 คน x 21 วัน
เป็นเงิน.....56,700....บาท 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ อปพร. จำนวน 2 คน x 300 บาท x 21 วัน เป็นเงิน...12,600......บาท 3.ค่าอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับผู้กักตัว จำนวน 18 ชุด x 1,434 บาท เป็นเงิน 25,818 บาท
4. ค่าป้ายไวนิว ขนาด 1.2x1.4 เมตร ๆ ละ 319 บาท จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 319 บาท ระยะเวลาดำเนินงาน มิถุนายน – กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) 1.บุคคลกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและคัดกรอง จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม 95,437.บาท ( เก้าหมื่นห้าพันสี่ร้อยสามสิบเจ็ดบาทถ้วน )

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? 1. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อ Covid-19 2. ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อ Covid-19 ได้รับการกักตัว 100 เปอร์เซนต์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2564 11:44 น.