กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง


“ โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอัสมาน มามุ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L8286-2-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L8286-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัญหาขยะมูลฝอยในปัจจุบัน เทศบาลตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ยังไม่มีการจัดทำแผนแม่บท และยังไม่มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่าเต็มรูปแบบ ประชาชนบางส่วนมีวิธีการกำจัดขยะมูลฝอยด้วยตนเอง บางครัวเรือนยังไม่ให้ความสำคัญในการคัดแยกประเภทของขยะมูลฝอย มีการทิ้งขยะมูลฝอยตามภาชนะที่จัดหามาเองในครัวเรือนก่อนที่จะนำไปกองแล้วเผา บางครัวเรือนไม่มีภาชนะรองรับขยะมูลฝอยก็จะใช้วิธีการเก็บใส่ถุงรวมกับขยะประเภทอื่นๆ แล้วนำไปทิ้งตามที่สาธารณะ ริมทางเดิน ข้างถนน สนามหญ้า ใต้ต้นไม้ และในลำห้วย หนอง บึง ขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนมีแหล่งที่มาจากอาคารบ้านเรือน ขยะที่ทิ้งในแต่ละวันส่วนใหญ่เป็นประเภทขยะมูลฝอยสดหรือขยะมูลฝอยเปียก เช่น เศษอาหาร เศษเนื้อ เศษผัก ใบไม้ และเปลือกผลไม้ รองลงมาเป็นขยะมูลฝอยทั่วไป เช่น เศษกระดาษ ถุงพลาสติก ซองขนม กล่องโฟม จากการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนที่ไม่เหมาะสม ปัญหาที่ตามมาก็คือ ปัญหาการส่งกลิ่นเหม็นของกองขยะ ปัญหาแมลงวันและสัตว์นำโรคชนิดต่างๆ ปัญหาควันไฟจากการเผาขยะมูลฝอย และปัญหาน้ำเสีย เทศบาลตำบลยะรัง มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจำนวน ๒.๕ ตันต่อวัน การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยภายในเขตพื้นที่ได้ประมาณ ๒.๓ ตันต่อวัน มีขยะมูลฝอยตกค้างจำนวน ๐.๒ ตันต่อวัน โดยนำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้ไปกำจัด บริเวณสถานที่ทิ้งขยะของเทศบาลตำบลยะรัง ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ที่ ๔ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี และเสียค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะโดยเฉลี่ยจำนวน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อเดือน โดยพื้นที่ดำเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชนเป้าหมาย มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ย ประมาณ ๐.๕ ตันต่อวัน   ปริมาณขยะมูลฝอยนับวันจะเพิ่มมากขึ้นทุกๆปี ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นภาระหนักของหน่วยงานราชการท้องถิ่น ที่จะต้องเก็บขนและนำไปกำจัดให้หมดไป บางครั้งก็ใช้วิธีการกำจัดที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยไม่มีการป้องกันการซึมของน้ำชะมูลฝอยหรือการปนเปื้อนของสารอันตรายที่ติดมากับขยะ สามารถซึมลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ก้อให้เกิดปัญหาผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เป็นแหล่งเพาะพันธ์แมลงและสัตว์พาหะนำโรค ตลอดจนส่งกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดเหตุรำคาญและเสียทัศนียภาพ บางครั้งก็นำไปสู่การประท้วงต้อต้านการใช้สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยจากประชาชนในบริเวณใกล้เคียงสถานที่กำจัด ดังนั้น ปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอยจึงเป็นปัญหาใหญ่และน่าวิตกของชุมชนนอกจากนี้แล้ว การลดลงของทรัพยากรธรรมชาติอันเนื่องจากการนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ทำให้หลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเริ่มตระหนักถึงความจำเป็นในการที่จะต้องลดปริมาณขยะมูลฝอยลง โดยการวางแผนการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการจัดเก็บ การขนขยะมูลฝอย และการเลือกใช้วิธีการจักเก็บขยะมูลฝอยที่มีความเหมาะสมและส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อมน้อยที่สุด แนวทางที่จะสามารถช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอย ได้แก่ การส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการขัดแยกขยะมูลฝอยที่จะต้องกำจัดแล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายและการใช้เนื้อที่ของสถานที่ในการกำจัดน้อยลง ช่วยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานในการผลิตสินค้าด้วย จากปัญหาของขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชน เทศบาลตำบลยะรัง จึงได้ตระหนักในความสำคัญของปัญหาและได้วางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม และสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่นในการเก็บขนขยะมูลฝอย การคัดแยกขยะมูลฝอย และการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะ การจัดการรูปแบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยในชุมชนให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก เริ่มจากการทิ้งขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ การบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ ควรมีการสร้างความเข้าใจให้กับชุมชน ซึ่งถือได้ว่าชุมชนเป็นผู้สร้างขยะและควรเป็นผู้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยมีการคัดแยกขยะก่อนที่จะทิ้ง เพื่อลดปริมาณขยะและพื้นที่ทิ้งขยะ ตลอดจนสามารถลดจำนวนของงบประมาณที่จะต้องใช้ในการกำจัดขยะ อีกทั้งเป็นการรักษาสภาพแวดล้อมและตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด และยังเป็นการสร้างสุขลักษณะนิสัยในการทิ้งขยะอย่างถูกวิธีอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือน โรคที่มาจากสัตว์และแมลงจากสภาพแวดล้อมในชุมชน
  2. 2.เพื่อให้ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง และมีการจัดการขยะถูกหลักสุขาภิบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 536
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน
    (๑) ประชาชนมีความรู้และทักษะ สามารถคัดแยกและจัดการขยะแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม (๒) ช่วยลดปัญหาปริมาณขยะ ปัญหาไม่มีที่กำจัดขยะ และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ (๓)เกิดชุมชนต้นแบบที่สามารถถ่ายทอดความรู้ และทักษะในการคัดแยกประเภทขยะสู่ชุมชนอื่นๆ (๔)ลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ลดขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะชุมชนลงได้ ผลประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๑) สภาพแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนต้นแบบมีความสะอาดปราศจากขยะมูลฝอย (๒) ลดการทำลายทรัพยากรดินในพื้นที่จากการกำจัดขยะด้วยวิธีการเผา (๓) ลดการปนเปื้อนสิ่งสกปรกลงสู่ทรัพยากรน้ำในพื้นที่จากน้ำชะขยะที่ไม่ได้กำจัดอย่างเหมาะสม (๔)เกิดทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือน โรคที่มาจากสัตว์และแมลงจากสภาพแวดล้อมในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะในครัวเพื่อไม่ให่เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
    0.00

     

    2 2.เพื่อให้ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง และมีการจัดการขยะถูกหลักสุขาภิบาล
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ปริมาณขยะลดลงโดยการจัดการด้วยหลักสุขาภิบาล
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 536 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 536 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือน โรคที่มาจากสัตว์และแมลงจากสภาพแวดล้อมในชุมชน (2) 2.เพื่อให้ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง และมีการจัดการขยะถูกหลักสุขาภิบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L8286-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัสมาน มามุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด