โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมนาล หะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต
ธันวาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8423-01-04 เลขที่ข้อตกลง 09/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8423-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับผู้หญิง ซึ่งนับตั้งแต่ตั้งครรภ์สัปดาห์แรกร่างกายจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆด้าน เช่น ตกขาวผิดปกติ มีไข้ต่ำๆตอนเย็น คลื่นไส้หรือการแพ้ท้อง และที่สังเกตเห็นได้ชัดคือ เต้านมหรือหัวนมมีการเปลี่ยนแปลง หรือเรียกว่าอาการเต้านมคัด ซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมนกำลังปรับสภาพร่างกายและเต้านมให้พร้อมที่จะสร้างน้ำนมในอีกเก้าเดือนข้างหน้าโดยปกติ ซึ่งปัญหาที่พบบ่อยและเป็นเรื่องที่หนักใจสำหรับคุณแม่หลายๆคน เนื่องจากมีการไหลของน้ำนมน้อย น้ำนมไม่พอที่จะให้ลูกน้อยได้อย่างเต็มที่ หรือในบางคนอาจจะมีปัญหาหัวนมบุ๋ม หัวนมบอดเป็นต้น ซึ่งทางด้านแพทย์แผนไทยจะให้ความสำคัญด้านนี้เป็นอย่างมาก เนื่องจากน้ำนมแม่มีสารอาหารที่ครบถ้วนและฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการพัฒนาการระบบต่างๆของร่างกายสำหรับลูกน้อย เช่น ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และอื่นๆ โดยจะมีวิธีการรักษาทั้งด้านยาสมุนไพร และนวดประคบ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงจัดโครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 เพื่อเป็นทางเลือกในการเตรียมความพร้อมร่างกายตั้งแต่ตั้งครรภ์ไปจนถึงหลังคลอดเพื่อที่จะสามารถเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพของน้ำนมแม่เพื่อที่จะมอบให้แก่ลูกน้อยในอนาคต โดยการจัดตั้งศูนย์อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ วิธีการใช้พืชสมุนไพรต่างๆที่มีอยู่ในท้องถิ่น และมีสรรพคุณในการช่วยเสริมสร้างน้ำนม สำหรับพืชสมุนไพรบางตัวที่มีฤทธิ์เย็น อาจจะต้องละเว้นการรับประทานสำหรับหญิงหลังคลอด โดยใช้สมุนไพรดังกล่าวทำเป็นลูกประคบเต้านม เพื่อเพิ่มการไหลเวียนและอาการคัดตึงเต้านม พร้อมจัดกิจกรรมผลิตลูกประคบเต้านมในกลุ่มของเครือข่ายการดำเนินงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้
- 2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้
- 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้
- เพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้
- หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้การรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่จะสามารถเพิ่มน้ำนม โดยประเมินทำแบบสอบถามประเมินความรู้ด้านสมุนไพรและสามารถปฏิบัติวิธีการนวดประคบได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80
0.00
2
2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรอบรู้ด้านการผลิตลูกประคบสมุนไพร โดยประเมินจากขั้นตอนวิธีการผลิตลูกประคบได้อย่างถูกต้อง มากกว่า ร้อยละ 80
0.00
3
3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ร้อยละ 60
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้ (2) 2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้ (3) 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8423-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมนาล หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมนาล หะมะ
ธันวาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8423-01-04 เลขที่ข้อตกลง 09/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8423-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับผู้หญิง ซึ่งนับตั้งแต่ตั้งครรภ์สัปดาห์แรกร่างกายจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆด้าน เช่น ตกขาวผิดปกติ มีไข้ต่ำๆตอนเย็น คลื่นไส้หรือการแพ้ท้อง และที่สังเกตเห็นได้ชัดคือ เต้านมหรือหัวนมมีการเปลี่ยนแปลง หรือเรียกว่าอาการเต้านมคัด ซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมนกำลังปรับสภาพร่างกายและเต้านมให้พร้อมที่จะสร้างน้ำนมในอีกเก้าเดือนข้างหน้าโดยปกติ ซึ่งปัญหาที่พบบ่อยและเป็นเรื่องที่หนักใจสำหรับคุณแม่หลายๆคน เนื่องจากมีการไหลของน้ำนมน้อย น้ำนมไม่พอที่จะให้ลูกน้อยได้อย่างเต็มที่ หรือในบางคนอาจจะมีปัญหาหัวนมบุ๋ม หัวนมบอดเป็นต้น ซึ่งทางด้านแพทย์แผนไทยจะให้ความสำคัญด้านนี้เป็นอย่างมาก เนื่องจากน้ำนมแม่มีสารอาหารที่ครบถ้วนและฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการพัฒนาการระบบต่างๆของร่างกายสำหรับลูกน้อย เช่น ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และอื่นๆ โดยจะมีวิธีการรักษาทั้งด้านยาสมุนไพร และนวดประคบ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงจัดโครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 เพื่อเป็นทางเลือกในการเตรียมความพร้อมร่างกายตั้งแต่ตั้งครรภ์ไปจนถึงหลังคลอดเพื่อที่จะสามารถเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพของน้ำนมแม่เพื่อที่จะมอบให้แก่ลูกน้อยในอนาคต โดยการจัดตั้งศูนย์อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ วิธีการใช้พืชสมุนไพรต่างๆที่มีอยู่ในท้องถิ่น และมีสรรพคุณในการช่วยเสริมสร้างน้ำนม สำหรับพืชสมุนไพรบางตัวที่มีฤทธิ์เย็น อาจจะต้องละเว้นการรับประทานสำหรับหญิงหลังคลอด โดยใช้สมุนไพรดังกล่าวทำเป็นลูกประคบเต้านม เพื่อเพิ่มการไหลเวียนและอาการคัดตึงเต้านม พร้อมจัดกิจกรรมผลิตลูกประคบเต้านมในกลุ่มของเครือข่ายการดำเนินงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้
- 2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้
- 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้
- เพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้
- หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้การรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่จะสามารถเพิ่มน้ำนม โดยประเมินทำแบบสอบถามประเมินความรู้ด้านสมุนไพรและสามารถปฏิบัติวิธีการนวดประคบได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้ ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรอบรู้ด้านการผลิตลูกประคบสมุนไพร โดยประเมินจากขั้นตอนวิธีการผลิตลูกประคบได้อย่างถูกต้อง มากกว่า ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง ร้อยละ 60 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางด้านแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวกับสมุนไพร และการนวดประคบที่ช่วยเสริมสร้างการเพิ่มน้ำนมได้ (2) 2 เพื่อเพิ่มทักษะให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับการผลิตลูกประคบสมุนไพร และสามารถแจกจ่ายให้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้ (3) 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดน้ำนมไหลได้มาก สามารถให้นมบุตรได้อย่างเพียงพอ และไม่มีปัญหาอาการของเต้านมคัดตึง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8423-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมนาล หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......