กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน ”

ศาลาประจำหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านลำ

ชื่อโครงการ การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน

ที่อยู่ ศาลาประจำหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3360-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2559 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาประจำหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาประจำหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤศจิกายน 2559 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ ได้จัดทำโครงการ”ระบบการจัดการกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน”ปี ๒๕๕๙ซึ่งได้มีการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งสมุดบันทึกการเฝ้าระวังภาวะน้ำตาลในเลือดอย่างต่อเนื่องนั้น เป็นกลุ่มเป้าหมายเพียงส่วนน้อยเท่านั้น อันที่จริงประชาชนที่มีอายุ๓๕ ปี ขึ้นไปทุกคน เป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังภาวะสุขภาพต่อเนื่องปีละครั้งโดยคนที่มีอายุครบ ๓๕ ปี ในปี ๒๕๖๐เป็นกลุ่มที่ต้องคัดกรองใหม่เพื่อให้เป็นกลุ่มที่ต้องดูแลต่อเนื่องในปีถัดไปผลจากการคัดกรองในปีที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ว่ากลุ่มไหนต้องดูแลต่อเนื่องอย่างไรในปีนี้ จากการคัดกรองโรคเบาหวานประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในปีที่ผ่านมา ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด๑๒๒๖ คนได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวน๑,๑๖๗ คน ผลน้ำตาลในเลือดปกติ จำนวน๙๔๒คนผลน้ำตาลในเลือดเสี่ยงต่อการเป็นโรคจำนวน๒๐๐คนและเสี่ยงต่อการเป็นโรคสูงจำนวน๒๕คนซึ่งทุกคนจำเป็นต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องโดยการเจาะเลือดประเมินผลระดับน้ำตาลในเลือด การให้ความรู้พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องพร้อมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยการใช้หลัก๓ อ.๒ส.
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำจึงได้จัดทำโครงการ “ การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน”ปี ๒๕๖๐ ขึ้น โดยการตรวจเลือดต่อเนื่องในประชาชนอายุ ๓๖ ปีขึ้นไปในปี ๒๕๖๐ จัดอบรมให้ความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวาน ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรค พร้อมทั้งจัดทำทะเบียนภาวะสุขภาพเพื่อการติดตามต่อเนื่องของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและคืนข้อมูลด้านสุขภาพต่างๆ สู่ชุมชน เพื่อให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และการรับรู้ปัญหาร่วมกัน ทั้งนี้ก็เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกรายได้รับความรู้และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพ ในปี ๒๕๕๙ แล้วได้รับการดูแลติดตาม เจาะเลือดซ้ำต่อเนื่องทุกราย
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อและรักษาได้อย่างทันถ่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเจาะเลือดซ้ำ
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,225
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบลดลง ๒กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันโรคได้ดีขึ้น
๓ชุมชนได้มีส่วนรับรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกันมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเจาะเลือดซ้ำ

วันที่ 5 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เจาะเลือดซ้ำให้กับประชาชนที่มีอายุ 36 ปีขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามกลุ่มเป้าหมาย

 

995 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 5 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้กับประชาชนที่มีกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามกลุ่มเป้าหมาย

 

230 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกรายได้รับความรู้และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพ ในปี ๒๕๕๙ แล้วได้รับการดูแลติดตาม เจาะเลือดซ้ำต่อเนื่องทุกราย
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อและรักษาได้อย่างทันถ่วงที
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1225
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,225
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกรายได้รับความรู้และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพ ในปี ๒๕๕๙ แล้วได้รับการดูแลติดตาม เจาะเลือดซ้ำต่อเนื่องทุกราย (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อและรักษาได้อย่างทันถ่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเจาะเลือดซ้ำ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การดูแลภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเรื่องเบาหวาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3360-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.บ้านลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด