กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

อาคารศูนย์ศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกาอะห์มาดียะห์) ม.2 ต.ลำใหม่ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.สูไวบ๊ะ บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ อาคารศูนย์ศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกาอะห์มาดียะห์) ม.2 ต.ลำใหม่ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-05-03 เลขที่ข้อตกลง 020/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารศูนย์ศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกาอะห์มาดียะห์) ม.2 ต.ลำใหม่ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารศูนย์ศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกาอะห์มาดียะห์) ม.2 ต.ลำใหม่ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา รหัสโครงการ 64-L4141-05-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2564 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไป เป็นระยะอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สำหรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดยะลาพบผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องและทางศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด – 19 จังหวัดยะลา ได้มีคำสั่งที่ 60/2564 เรื่องการดำเนินการตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 23) ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 ปรับระดับการกำหนดเขตพื้นที่สถานการเพื่อการบังคับใช้มาตราการควบคุมแบบบูรณาการการจำแนกตามเขตพื้นที่สถานการณ์ ให้จังหวัดยะลาเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด บัดนี้เกิดสถานการณ์ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่มียอดผู้ติดเชื้อและผู้สัมผัสผู้ติดเชื้อที่มีความเสี่ยงสูงเป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้มีคำสั่ง ที่ 183 /2564 เรื่อง จัดตั้งศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19) ระดับตำบลขึ้น ลงวันที่ 21 มิถุนายน2564ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังกล่าวข้างต้น จากการจัดตั้งศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญยอดผู้ติดเชื้อ (COVID-19) ระดับตำบลขึ้น ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ เบื้องต้นไม่สามารถรองรับจำนวนผู้สัมผัสเสี่ยงสูงที่จำเป็นต้องกักตัวได้ จากยอดผู้ติดเชื้อ จำนวน 17 ราย มีผู้ที่มีความเสี่ยงสูงที่สัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จำนวน 125ราย (ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ณ วันที่ 23 มิถุนายน2564) ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังกล่าวข้างต้น จากการติดเชื้อระลอกใหม่ในพื้นที่ตำบลลำใหม่ ที่ไม่สามารถกักตัวที่บ้านพักอาศัยเพื่อสอบสวนโรคได้ จึงจำเป็นต้องมีสถานที่สังเกตอาการเฉพาะกิจเพิ่มเติมขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ไกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนจำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันตนอง จากการแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC-19)ตลอดจนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าว โดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC - 19)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ
  2. เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. เพื่อให้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  4. เพื่อสนับสนุนให้มีการป้องกันโรคระบาด สร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19) ระดับตำบลเฉพาะกิจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 48
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19

  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ได้รับการกักตัว 100 %


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดตั้งศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19) ระดับตำบลเฉพาะกิจ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับใช้ในศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้กักตัว มีของใช้ส่วนตัวและเครื่องนอน ในศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19)

ป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในชุมชน

 

48 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งในพื้นที่จังหวัดยะลามียอดผู้ติดเชื้อ จำนวน 1,853 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด จังหวัดยะลา ณ วันที่ 30 มิ.ย. 2564) ทำให้เกิดวิกฤตเตียงไม่พอ ทั้งโรงพยาบาล และโรงพยาบาลสนาม สำหรับตำบลลำใหม่เองมียอดผู้ติดเชื้อ จำนวน 28 ราย มีผู้ที่มีความเสี่ยงสูง ที่สัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จำนวนมาก เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังกล่าว จากการติดเชื้อระลอกใหม่ในพื้นที่ตำบลลำใหม่ สำหรับผู้ที่ไม่สามารถกักตัวที่บ้านพักอาศัยเพื่อสอบสวนโรคได้ จึงได้จัดตั้งสถานที่สังเกตอาการเฉพาะกิจเพิ่มเติมขึ้น ในนามศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญไวรัสโคโรนา (COVID-19) ระดับตำบลลำใหม่ เฉพาะกิจ ณ อาคารตาดีกาอะห์มาดียะห์ บ้านน้ำเย็น หมู่ที่ 2 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทั้งนี้ผู้ที่มีความเสี่ยงสูง และผู้ติดเชื้อมีสถานที่ในการกักตัวและได้รับการกักตัว 100 % สามารถป้องกันการแพร่ระบาดในชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว
100.00

 

2 เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
95.00

 

3 เพื่อให้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
95.00

 

4 เพื่อสนับสนุนให้มีการป้องกันโรคระบาด สร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : สนับสนุนป้องกันโรคระบาด สร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 48
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 48
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ (2) เพื่อการป้องกัน การควบคุม การแพร่ การเฝ้าระวัง และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เพื่อให้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (4) เพื่อสนับสนุนให้มีการป้องกันโรคระบาด สร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์สังเกตอาการโรคสำคัญ (COVID-19) ระดับตำบลเฉพาะกิจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.สูไวบ๊ะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด