กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาแกนนำเยาวชนต้านป้องกันโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L2515-1-003
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมะนังปันยัง
วันที่อนุมัติ 30 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 9,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านมะนังปันยัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.423,101.587place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2564 31 ธ.ค. 2565 9,500.00
รวมงบประมาณ 9,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพของเยาวชนอายุ 12-15 ปี จำนวน 50 คน ให้มีความรู้ในการปฏิบัติงานการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 9,500.00 1 9,500.00
1 ก.ค. 64 - 31 ธ.ค. 64 ประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำเยาวชน 50 9,500.00 9,500.00

รวบรวมข้อมูล วางแผน ประสานคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนองค์การบริหารส่วนตำบลสามัคคี อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชน โรงเรียน เพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายและจำนวนที่ต้องการ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสามัคคี ๒.๓ ประสานงานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง เพื่อประชุมกำหนดเนื้อหาการบรรยายให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และซักซ้อมความเข้าใจในการดำเนินงานตามกำหนดการ
จัดกิจกรรม Big cleaning day ที่โรงเรียนหรือเก็บขยะ บริเวณ ๒ ข้างทาง เดือนละ ๑ ครั้ง มีกิจกรรมสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน และชุมชนของตนเอง ทุกสัปดาห์ ๒.๖ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโดยมีแบบฟอร์มการรายงานผลการสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายของกลุ่มแกนนำเยาวชน ร่วมกับ อสม.ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบเดียวกัน)
สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสามัคคี

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กและเยาวชน มีการพัฒนาศักยภาพตนเอง มีความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน
เด็กและเยาวชน มีความรู้ สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชนตนเอง เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังเรื่องโรคระบาดในชุมชน เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร ภาคีเครือข่าย ในการดูแล สุขภาพของคนภายในชุมชน อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคระบาดลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2564 14:15 น.