สาน สร้าง สุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สาน สร้าง สุข ”
พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านหูแร่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง
ธันวาคม 2559
ชื่อโครงการ สาน สร้าง สุข
ที่อยู่ พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"สาน สร้าง สุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สาน สร้าง สุข
บทคัดย่อ
โครงการ " สาน สร้าง สุข " ดำเนินการในพื้นที่ พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ มีการประมาณการทางสถิติว่าทั่วโลกจะมีผู้ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานประมาณ 4 ล้านคน และมีอัตราเพิ่มทุกปี ในการศึกษาสถานการณ์และธรรมชาติวิทยาของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากร พบว่าภาพรวมของประเทศพบประชากรไทยมีแนวโน้มการตายและการป่วยจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้นใน 13 ปี มากกว่าหนึ่งล้านเก้าแสนคนและมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังพบว่าเมื่ออายุสูงขึ้นมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งจะเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ ระบบประสาท หลอดเลือดตลอดจนแผลเรื้อรังตามมา หากไม่มีการจัดการพฤติกรรมสุขภาพควบคุมโรคของตนเองควบคู่กับการพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญรักษาตามนัดต่อเนื่อง ปรึกษาภาวะสุขภาพใช้ยาอย่างถูกต้องเหมาะสม
จากผลการดำเนินรักษาพยาบาลและการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ร่วมกับภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ทุกๆปี และส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวานอยู่เดิม ถึงแม้ว่ามีกลุ่มป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นแต่จากผลการคัดกรองประจำปีย้อนหลังไป 3 ปี พบข้อมูลการคัดกรองเบาหวานประจำปีทางสถิติคือมีแนวโน้มการควบคุมโรคเบาหวานดีขึ้นจากเดิม โดยพบว่า ปี 2559 พบป่วยเบาหวานรายใหม่ร้อยละ 1.62 ปี 2558 พบร้อยละ 2.27 ปี 2557 พบร้อยละ 2.63 ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีถึงคุณภาพการคัดกรองที่ต่อเนื่องในการดูแลกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี ที่เริ่มพบป่วยด้วยโรคเรื้อรังเบาหวาน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการการสร้างกระบวนการเรียนรู้ (Knowledge Management) ขึ้นในปี 2559 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ใน “คลินิกอรุณสวัสดิ์บ้านหูแร่” สามารถลดและชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เป็นต้นแบบในการส่งเสริมการเฝ้าระวังและดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่ในการเข้าถึงข้อมูลภาวะสุขภาพของตนเองและครัวเรือน ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เข้าถึงการบริการ เข้าถึงการข้อมูลการคัดกรองที่ต่อเนื่องและได้คุณภาพจึงเขียนโครงการคัดกรองเฝ้าระวังโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของเราสามารถควบคุมโรคเบาหวานได้อย่างเหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ
อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป
- 2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ
ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน
- 3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง
ครอบครัว
- 4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด
กรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,090
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายการคัดกรองเข้าถึงการบิการด้านสาธารณสุข สร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องต่อไป
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความตื่นตัว ได้รับการเข้าถึงข้อมูลและบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและญาติตลอดจนโรคเรื้อรังอื่นๆในพื้นที่ มีส่วนร่วมในด้านการส่งเสริมสุขภาพ และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระดับปฐมภูมิ
- ภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพตนเองและดูแลครอบครัวในการจัดการหรือชะลอภาวะเสี่ยงของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. มีการจัดบริการคลินิกดีแพคลดพุงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๔ อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และอนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม ๒ ส. ได้แก่ สุรา สูบบุหรี่ ในหน่วยบริการทุกบ่ายวันพุธ
- ต้นแบบเจ้าหน้าที่
- ต้นแบบผู้สมัครใจกลุ่มวางแผนครอบครัว และเชื่อมขยายต่อสู่ชุมชนจากกลุ่มเสี่ยงรอบพุงเกินในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข และกลุ่มเสี่ยงบ้านโหล๊ะพันหงส์ บ้านบ่อโพธิ์ บ้านหูแร่ บ้านนาโอ่
- ต้นแบบกลุ่มเสี่ยงคณะครูและเจ้าหน้าที่โรงเรียนวัดโอ่
๒. ร้อยละ ๙๖.๐๖ ของกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๖ ปีขึ้นไปได้รับการติดตามความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
๓. ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามและส่งต่อตามเกณฑ์ (ร้อยละ๑๐๐ ได้รับการติดตามเพื่อส่งต่อวินิจฉัย)
๔. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่และญาติ มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการให้บริการมากกว่าร้อยละ ๘๐ (โดยวัดกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานที่ได้ติดตามคัดกรองซ้ำก่อนส่งวินิจฉัยโรค กลุ่มป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 50 คน โดยวัดความพึงพอใจ ๔ ด้าน ความพึงพอใจของท่านในการเข้ารับบริการที่คลินิกอรุณสวัสดิ์บ้านหูแร่ คุณภาพการให้บริการ อัธยาศัยและการเอาใจใส่ การให้ข้อมูล/คำแนะนำด้านสุขภาพและบริการ
๕. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ได้รับการติดตาม มากกว่าร้อยละ ๘๐ (ร้อยละ ๑๐๐)
๖. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่และญาติ สามารถร่วมกันดูแลและจัดการควบคุมโรคได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อน มากกว่าร้อยละ ๖๐ (ร้อยละ ๑๐๐)
๗. ความพึงพอใจต่อรูปแบบการคืนข้อมูลผลการติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพที่ต่อเนื่อง“ส.ค.ส.สี แห่งสุข” ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ควรมีปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ
อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ
ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง
ครอบครัว
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด
กรอง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1090
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,090
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ
อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป (2) 2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ
ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน (3) 3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง
ครอบครัว (4) 4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด
กรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สาน สร้าง สุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( รพ.สต.บ้านหูแร่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สาน สร้าง สุข ”
พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านหูแร่
ธันวาคม 2559
ที่อยู่ พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"สาน สร้าง สุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สาน สร้าง สุข
บทคัดย่อ
โครงการ " สาน สร้าง สุข " ดำเนินการในพื้นที่ พืนที่ ม.1 - ม.4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ มีการประมาณการทางสถิติว่าทั่วโลกจะมีผู้ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานประมาณ 4 ล้านคน และมีอัตราเพิ่มทุกปี ในการศึกษาสถานการณ์และธรรมชาติวิทยาของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากร พบว่าภาพรวมของประเทศพบประชากรไทยมีแนวโน้มการตายและการป่วยจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้นใน 13 ปี มากกว่าหนึ่งล้านเก้าแสนคนและมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังพบว่าเมื่ออายุสูงขึ้นมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งจะเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต หัวใจ ระบบประสาท หลอดเลือดตลอดจนแผลเรื้อรังตามมา หากไม่มีการจัดการพฤติกรรมสุขภาพควบคุมโรคของตนเองควบคู่กับการพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญรักษาตามนัดต่อเนื่อง ปรึกษาภาวะสุขภาพใช้ยาอย่างถูกต้องเหมาะสม
จากผลการดำเนินรักษาพยาบาลและการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ร่วมกับภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ทุกๆปี และส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวานอยู่เดิม ถึงแม้ว่ามีกลุ่มป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นแต่จากผลการคัดกรองประจำปีย้อนหลังไป 3 ปี พบข้อมูลการคัดกรองเบาหวานประจำปีทางสถิติคือมีแนวโน้มการควบคุมโรคเบาหวานดีขึ้นจากเดิม โดยพบว่า ปี 2559 พบป่วยเบาหวานรายใหม่ร้อยละ 1.62 ปี 2558 พบร้อยละ 2.27 ปี 2557 พบร้อยละ 2.63 ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีถึงคุณภาพการคัดกรองที่ต่อเนื่องในการดูแลกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี ที่เริ่มพบป่วยด้วยโรคเรื้อรังเบาหวาน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการการสร้างกระบวนการเรียนรู้ (Knowledge Management) ขึ้นในปี 2559 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ใน “คลินิกอรุณสวัสดิ์บ้านหูแร่” สามารถลดและชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เป็นต้นแบบในการส่งเสริมการเฝ้าระวังและดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่ในการเข้าถึงข้อมูลภาวะสุขภาพของตนเองและครัวเรือน ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เข้าถึงการบริการ เข้าถึงการข้อมูลการคัดกรองที่ต่อเนื่องและได้คุณภาพจึงเขียนโครงการคัดกรองเฝ้าระวังโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของเราสามารถควบคุมโรคเบาหวานได้อย่างเหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป
- 2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน
- 3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง ครอบครัว
- 4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด กรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,090 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายการคัดกรองเข้าถึงการบิการด้านสาธารณสุข สร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องต่อไป
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความตื่นตัว ได้รับการเข้าถึงข้อมูลและบริการที่มีคุณภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและญาติตลอดจนโรคเรื้อรังอื่นๆในพื้นที่ มีส่วนร่วมในด้านการส่งเสริมสุขภาพ และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระดับปฐมภูมิ
- ภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพตนเองและดูแลครอบครัวในการจัดการหรือชะลอภาวะเสี่ยงของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. มีการจัดบริการคลินิกดีแพคลดพุงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๔ อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และอนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม ๒ ส. ได้แก่ สุรา สูบบุหรี่ ในหน่วยบริการทุกบ่ายวันพุธ
- ต้นแบบเจ้าหน้าที่
- ต้นแบบผู้สมัครใจกลุ่มวางแผนครอบครัว และเชื่อมขยายต่อสู่ชุมชนจากกลุ่มเสี่ยงรอบพุงเกินในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข และกลุ่มเสี่ยงบ้านโหล๊ะพันหงส์ บ้านบ่อโพธิ์ บ้านหูแร่ บ้านนาโอ่
- ต้นแบบกลุ่มเสี่ยงคณะครูและเจ้าหน้าที่โรงเรียนวัดโอ่
๒. ร้อยละ ๙๖.๐๖ ของกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๖ ปีขึ้นไปได้รับการติดตามความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
๓. ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามและส่งต่อตามเกณฑ์ (ร้อยละ๑๐๐ ได้รับการติดตามเพื่อส่งต่อวินิจฉัย)
๔. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่และญาติ มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการให้บริการมากกว่าร้อยละ ๘๐ (โดยวัดกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานที่ได้ติดตามคัดกรองซ้ำก่อนส่งวินิจฉัยโรค กลุ่มป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 50 คน โดยวัดความพึงพอใจ ๔ ด้าน ความพึงพอใจของท่านในการเข้ารับบริการที่คลินิกอรุณสวัสดิ์บ้านหูแร่ คุณภาพการให้บริการ อัธยาศัยและการเอาใจใส่ การให้ข้อมูล/คำแนะนำด้านสุขภาพและบริการ
๕. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ได้รับการติดตาม มากกว่าร้อยละ ๘๐ (ร้อยละ ๑๐๐)
๖. ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่และญาติ สามารถร่วมกันดูแลและจัดการควบคุมโรคได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อน มากกว่าร้อยละ ๖๐ (ร้อยละ ๑๐๐)
๗. ความพึงพอใจต่อรูปแบบการคืนข้อมูลผลการติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพที่ต่อเนื่อง“ส.ค.ส.สี แห่งสุข” ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ควรมีปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ
อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ
ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง
ครอบครัว ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด
กรอง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1090 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,090 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ อนามัยสิ่งแวดล้อม พฤติกรรม 2 ส. ได้แก่ สุรา และสูบบุหรี่ ในกลุ่มเป้าหมายคัดกรองเบาหวานอายุ 36 ปีขึ้นไป (2) 2. เพื่อสร้างความต่อเนื่องการเข้าถึงคัดกรอง การติดตามข้อมูลภาวะสุขภาพประจำปีขอ ตนเองและครอบครัวตามเขตรับผิดชอบของอสม.แต่ละหมู่บ้าน (3) 3. เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในการควบคุมการเกิดโรคเบาหวานต่อตนเองไปจนถึง ครอบครัว (4) 4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัวของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานตามอายุเป้าหมายการคัด กรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สาน สร้าง สุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( รพ.สต.บ้านหูแร่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......