กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ


“ โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายไตรรงค์ ชูเงิน

ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7574-1-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L7574-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,951.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดเชื้ออันเกิดจากไวรัสโคโรนากลุ่มอาการทางเดินทางหายใจเฉียบพลันรุนแรง มีระบุโรคครั้งแรกในเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ ในนครอู่ฮั่น เมืองเอกของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน และได้กระจายไปทั่วโลกนับแต่นั้น ส่งผลให้เกิดการระบาดทั่วของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา พ.ศ.๒๕๖๒ - ปัจจุบัน อาการทั่วไป อาจทำให้เกิดอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกที่มีอาการรุนแรง อาจมีลักษณะของปอดอักเสบ (Pneumonia) หรือ หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็กโตอาจมีอาการของหอบหืด (Asthma) ส่วนในผู้ใหญ่ อาจพบลักษณะปอดอักเสบ (Pneumonia) หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) หรือการกลับเป็นซ้ำของโรคหอบหืดได้ และอาจทำให้เกิดอาการรุนแรงได้มากในผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการได้ในทุกอายุ และหากแสดงอาการมักพบร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น Rhinovirus, Adenovirus หรือเชื้ออื่นๆ วิธีการแพร่โรค แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ หรือแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อโดยการ ไอ หรือจาม ระยะฟักตัวของโรค โดยเฉลี่ยประมาณ 2 วัน (อาจมีระยะฟักตัวนานถึง 3 – 4 วัน) สำหรับโรคซาร์ส อาจใช้ระยะฟักตัว 4 – 7 วัน (อาจนานถึง 10 – 14 วัน)
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ข้อมูล COVID-19 กรมประชาสัมพันธ์ รายงานสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย ปรับระดับพื้นที่สถานการณ์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็น ๔ ระดับ คือ พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด พื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้าระวังสูง ซึ่งจังหวัดพัทลุงจัดเป็นพื้นที่เฝ้าระวังสูง ข้อมูลสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง สถานการณ์ COVID-19 จังหวัดพัทลุง เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ พบเชื้อจำนวน ๙ ราย รอผลตรวจ ๒ ราย สะสม ๕๒๔ ราย พบเชื้อสะสมทั้งหมด ๕๔๑ ราย เสียชีวิต (สะสม) ๖ คน ข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคอำเภอควนขนุน (ศปก.อ.ควนขนุน) จังหวัดพัทลุง ประจำวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ พบเชื้อเพิ่ม ๑ ราย พื้นที่ตำบลควนขนุน สะสมรวม ๑๔๑ ราย เสียชีวิตสะสม ๒ คน และข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง วันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ มีผู้กักตัวจากการสัมผัสผู้ป่วยยืนยัน ๑๓๕ (พนางตุง) จำนวน ๑๒ คน กักตัวตั้งแต่วันที่ ๑๗-๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๔
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ จึงได้จัดทำโครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น เพื่ออบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไม่ให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัยและการล้างมือที่ถูกต้อง และให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้ แนะนำการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ โดยแกนนำ อสม.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ อสม. การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. กิจกรรมลงเคาะประตูบ้านให้ความรู้โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา แนะนำการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาทิเช่น การล้างมือ ๗ ขั้นตอน และสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้องแก่ประชาชนโดย อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำอสม. สามารถให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาทิเช่น ล้างมือ 7 ขั้นตอน และสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด : ๑. อสม.เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ ๒. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้หลังเข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐
7.00

 

2 เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้ แนะนำการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ โดยแกนนำ อสม.
ตัวชี้วัด : 1.อสม.เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 2.ประชาชนมีความรู้และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หลังจากแกนนำ อสม. ลงพื้นที่ให้ความรู้ ร้อยละ 70 3.ครัวเรือนในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือได้รับหน้ากากอนามัยร้อยละ 100
5.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) เพื่อลงพื้นที่ให้ความรู้ แนะนำการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ โดยแกนนำ อสม.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ อสม. การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) กิจกรรมลงเคาะประตูบ้านให้ความรู้โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา แนะนำการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อาทิเช่น การล้างมือ ๗ ขั้นตอน และสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้องแก่ประชาชนโดย อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7574-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไตรรงค์ ชูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด