กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพนมยงค์ ดำช่วย

ชื่อโครงการ ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-15 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3333-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาด ไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อประโยชน์ในการดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออันตรายแล้ว ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องชื่อ และอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2563เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563และกระทรวงศึกษาธิการ เห็นถึงความสำคัญ ความจำเป็น จึงได้แถลงความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการในการเปิดภาคเรียน ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ตามแนวทาง “โรงเรียนสุขภาพดี นักเรียนมีความสุข (Back to Healthy School)”โดยกล่าวว่า สถานศึกษาทุกสังกัดทั่วประเทศจะเปิดภาคเรียนในวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 กระทรวงศึกษาธิการได้มีแคมเปญช่วงเปิดเรียนปีนี้ “โรงเรียนสุขภาพดี นักเรียนมีความสุข (Back to Healthy School)” โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และพ่อแม่ผู้ปกครอง เพื่อให้การเรียนของนักเรียน ได้รับทั้งความรู้ และความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 หลักการสำคัญ คือ การเลื่อนเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม – 14 พฤศจิกายน 2563 และภาคเรียนที่ 2/2563 เป็นวันที่ 1 ธันวาคม 2563 – 10 เมษายน 2564 ซึ่งมีเวลาเรียน 180 วัน แต่ก็จะมีการชดเชยให้ครบ 200 วัน ด้วยวิธีการต่างๆ ตามที่โรงเรียนมีอิสระกำหนดได้เอง เช่น เรียนวันเสาร์อาทิตย์ เรียนตอนเย็น เรียนออนไลน์ ฯลฯ นอกจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แล้ว ส่วนโรคมือเท้าปาก และโรคไข้เลือดออก ก็ยังเป็นปัญหาที่ยังเกิดขี้นอย่างเป็นประจำเมื่อภาคเรียนที่1เด็กชั้นอนุบาลป่วยเป็นโรคมือเท้าปากจำนวน2 คน ต้องปิดเรียนเป็นเวลา สองสัปดาห์เพื่อทำความสะอาดห้องเรียนและโรคไข้เลือดออกก็ต้องดูแลเฝ้าระวังอยู่ตลอดเวลารายงานผลการตรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ จำเป็นที่จะต้องป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน มาตรการในการเปิดเรียน สิ่งสำคัญที่สุด คือ กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ออกคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งแบ่งเป็น 6 มิติด้วยกันคือโดยมิติที่ 1 ว่าด้วยเรื่องความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อ มีจำนวน 20 ข้อ ในมิตินี้สถานศึกษาทุกแห่งต้องปฏิบัติให้ครบถ้วน 20 ข้อ ตามมาตรการที่กำหนดโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งสถานศึกษาทุกแห่งได้รับคู่มือนี้ไปเตรียมรับการประเมินแล้ว ส่วนมิติที่เหลือ 24 ข้อ ก็จะเป็นมิติในการเรียนรู้ การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และมิติการบริหารการเงิน เพื่อให้สถานศึกษาสามารถนำไปปรับใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการในการเปิดภาคเรียน โดยที่สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องผ่านการประเมินนี้ก่อน จึงสามารถเปิดเรียนได้ ซึ่งขณะนี้สถานศึกษากว่าร้อยละ 90 มีความพร้อมผ่านการประเมินแล้วส่วนของโรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ก็ต้องมีมาตรการในการป้องกันโรคเช่นเดียวกัน สำหรับแนวปฏิบัติของสถานศึกษาระหว่างเปิดภาคเรียน จะต้องมีการคัดกรองสุขภาพ ซึ่งโรงเรียนต้องเตรียมความพร้อมตั้งแต่จุดรับ-ส่งนักเรียน เพื่อจะได้ดูว่านักเรียนมีอาการป่วยหรือไม่อีกทั้งต้องให้ครูและนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา จัดสถานที่ล้างมือหรือแอลกอฮอล์เจล ลดการแออัด เว้นระยะห่างในห้องเรียน และทำความสะอาดสถานที่ ทั้งนี้ สถานศึกษาทุกสังกัด ทุกระดับ จะต้องมีการปรับปรุงห้องเรียน ด้วยการจัดโต๊ะที่นั่งเรียน ให้เว้นระยะห่างกันไม่ต่ำกว่า 1.5 เมตร และต้องปรับปรุงพื้นที่อื่น ๆ ในโรงเรียน อาทิ โรงอาหารที่ต้องเว้นระยะห่างบุคคลไม่ต่ำกว่า 2 เมตร และต้องมีการทำความสะอาดบ่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งห้องสุขาและจุดสัมผัสต่าง ๆ ที่สำคัญ ต้องงดการทำกิจกรรมที่ทำให้เกิดความแออัดอีกด้วย ดังนั้น จากเหตุผลความสำคัญ ดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนวัดแหลมดินสอ จึงจัดทำโครงการ ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปากและไข้เลือดออกของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก
  2. เพื่อจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก/สุขบัญญัติ 10 ประการ
  2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19
  3. จัดซื้อน้ำยาทำความสะอาดของเล่นและอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกันป้องกันโรคมือเท้าปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 โรคมือเท้าปากโรคไข้เลือดออกและสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพป้องกันโรคโควิค 19 โรคมือเท้าปากและโรคไข้เลือดออก ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียนได้รับความรู้จากการอบรมจากวิทยากร ตามโครงการดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปากปื่อย และโรคไข้เลือดออก ของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปีการศึกษา 2564
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ ตามโครงการดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปากปื่อย และโรคไข้เลือดออก ของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปีการศึกษา 2564
  3. นักเรียนนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้ปกครองและชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรคไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของคณะครูและนักเรียนในโรงเรียนวัดแหลมดินสอได้รับข้อมูลความรู้แนวปฏิบัติในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก
0.00 0.00

 

2 เพื่อจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : โรงเรียนวัดสุภาษิตารม มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอในการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโคโรนา 2019 โรคไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 104
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  โรคไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก (2) เพื่อจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 ไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก/สุขบัญญัติ 10 ประการ (2) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิค 19 (3) จัดซื้อน้ำยาทำความสะอาดของเล่นและอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกันป้องกันโรคมือเท้าปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ดูแล ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 โรคมือเท้าปาก และไข้เลือดออก ของนักเรียนโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพนมยงค์ ดำช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด