กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์ ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสีตีรอฮานา อาลี

ชื่อโครงการ ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการทีี่สำคัญของครอบครัว โดยดฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรกการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมีและสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญโตอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆเช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมกับการเจริญเติบโตของทารถในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธ์ภาพครอบครัว จากผลดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลตำบลบ้านบาโงกือเตะปี 2559 พบว่าผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายของงานอนามัยแม่และเด็กผ่านเกณฑ์ในระดับปานกลาง ดังต่อไปนี้อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 86.67 ซึ่งตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 อัตรามารดาได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 62.22 ซึ่งตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 และอัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์คิดเป็นร้อยละ 8.70 ซึ่งตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ซึ่งจำนวนกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์ 8.70 นั้น มีภาวะซีดขั้นรุนแรงซึ่งมีความต่อการเกิดอุบัติการณ์ต่างๆตามมาและหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ที่พบนั้นเป็นกลุ่มเสี่ยง เช่น อายุมากกว่า 35 ปี และบางรายมาฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไปซึ่งกลุ่มนี้ไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์ตามเกณฑ์ มีความเสี่ยงสูงที่ทารถเกิดมามีสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรงโภชนาการรบกพร่อง ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์เพื่อพัฒนาผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อไป ดังนั้นกลุ่มสายใยรักแห่งครอบครัวโครงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบาโงกือเตะ และกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสามัคคีจึงได้จัดโครงการสายใยรักจากแม่สู่ลูก ประจำปี 2560 ขึ้นเพื่อสุขภาพที่ดีของแม่และลูกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ สามารถดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 2. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 3. เพื่อส่งเสริมการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีอัตราภาวะโลหิตจางอยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 41
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้เข้าร่วมรับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 100
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถสาธิตย้อนกลับได้
  3. หญิงตั้งครรภ์ฝากตระหนักเรื่องการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และสามารถประชาสัมพันธ์ได้
  4. หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักเรื่องฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์และมาฝากครรภ์ตามนัด
  5. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีนลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 20 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดทำป้ายโครงการ 700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการนี้ไม่สามารถดำเนินการได้จนจบโครงการเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงมีงานอื่นซ้อนในเวลาเดียวกัน 

 

4 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ สามารถดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 2. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 3. เพื่อส่งเสริมการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีอัตราภาวะโลหิตจางอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ไม่เกิดร้อยละ 10 4. เด็กแรกเกิดกินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 41
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 41
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ สามารถดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 2. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 3. เพื่อส่งเสริมการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีอัตราภาวะโลหิตจางอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลูกสุขภาพดีเริ่มที่คุณแม่ตั้งครรภ์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสีตีรอฮานา อาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด