กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาด COVID-19 (ระลอกใหม่)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 24 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 309,890.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกิรณา อินพัฒนสกุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.789,101.135place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้แก่ประชาชนในพื้นที่

 

0.00
2 2.เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารและคณะกรรมการกองทุนฯตามลำดับ
2.บูรณาการโครงการกับกิจกรรมหรือโครงการอื่นๆตามความเหมาะสม
3.ดำเนินงานตามกิจกรรมที่ได้ระบุในโครงการโดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานราชการหรือองค์กรชุมชนในพื้นที่ เช่น อำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยงานทหารในพื้นที่ โรงเรียน ศพด. ชมรมอสม. ผู้นำชุมชน เป็นต้น
4.สรุปรายงานผลกิจกรรมให้คณะกรรมการกองทุนฯรับทราบเมื่อดำเนินการเสร็จตามระยะเวลา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา(COVID-19)ได้
2.ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่ในการลงทะเบียนการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในการให้บริการ การป้องกันการ การเฝ้าระวังการติดเชื้อจากโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้เป็นอย่างดี
3.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
4.สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้
5.แกนนำสุขภาพในพื้นที่มีความเข้มแข็ง มีการพัฒนา
6.ประชาชน หน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานภาคเอกชน ในพื้นที่มีการบูรณาการร่วมในการแก้ปัญหา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.ค. 2564 09:52 น.