การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 ”
จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564
ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-9 เลขที่ข้อตกลง 9/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 สิงหาคม 2564 ถึง 25 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 สิงหาคม 2564 - 25 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่รัฐบาลได้มีการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงานและบริการอาชีวะอนามัยในสถานประกอบการของไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ถึง 2564 ตลอดจนการดำเนินการพัฒนาด้านอาชีวอนามัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา และการยกระดับมาตรฐานในด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการ อาชีวอนามัยในสถานประกอบการสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ สถานที่ประกอบการเอกชน ตลาด ร้านอาหาร โรงงาน เป็นต้น เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานตามที่กำหนดอันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริการด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระนอกระบบ เช่น เกษตรกร ร้านอาหาร/ขนม ซ่อมรถ ก่อสร้าง เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพ จึงเป็นเรื่องสำคัญ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของผู้ประกอบอาชีพจึงได้จัดโครงการ การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ แรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
- แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100
- แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
- จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบใ
180
อสม. / ผู้นำชุมชน
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แรงงานนอกระบบมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
- แรงงานนอกระบบได้รับการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานและสามารถป้องกันความเสี่ยง การเกิดโรคจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบการได้
- กลุ่มแรงงานนอกระบบได้รับวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการทำงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
วันที่ 1 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (out put) จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
ผลลัพท์ (outcome) ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 30 คน ทราบการจัดทำ โครงการ
0
0
2. จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น ( วันที่ 4 - 7 เมษายน 2565)
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น ( วันที่ 4 - 7 เมษายน 2565)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (out put) อบรมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงาน นอกระบบในชุมชน
ผลลัพท์ (outcome)
1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน ได้รับความรู้จากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช จำนวน 180 คน
2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน ได้รับการตรวจสุขภาพ จำนวน 180 คน
3. กลุ่มแรงงานนอกระบบได้รับวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการทำงาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบได้ความรู้ เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
0.00
2
แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจสุขภาพ ร้อยละ 100
0.00
3
แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ
ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติได้รับการส่งต่อ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
330
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบใ
180
อสม. / ผู้นำชุมชน
30
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (2) แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100 (3) แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ (2) จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 ”
จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-9 เลขที่ข้อตกลง 9/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 สิงหาคม 2564 ถึง 25 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 สิงหาคม 2564 - 25 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่รัฐบาลได้มีการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงานและบริการอาชีวะอนามัยในสถานประกอบการของไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ถึง 2564 ตลอดจนการดำเนินการพัฒนาด้านอาชีวอนามัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา และการยกระดับมาตรฐานในด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการ อาชีวอนามัยในสถานประกอบการสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ สถานที่ประกอบการเอกชน ตลาด ร้านอาหาร โรงงาน เป็นต้น เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานตามที่กำหนดอันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริการด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระนอกระบบ เช่น เกษตรกร ร้านอาหาร/ขนม ซ่อมรถ ก่อสร้าง เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพ จึงเป็นเรื่องสำคัญ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของผู้ประกอบอาชีพจึงได้จัดโครงการ การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ แรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
- แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100
- แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
- จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบใ | 180 | |
อสม. / ผู้นำชุมชน | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แรงงานนอกระบบมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
- แรงงานนอกระบบได้รับการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานและสามารถป้องกันความเสี่ยง การเกิดโรคจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบการได้
- กลุ่มแรงงานนอกระบบได้รับวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการทำงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ |
||
วันที่ 1 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำจัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (out put) จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ ผลลัพท์ (outcome) ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 30 คน ทราบการจัดทำ โครงการ
|
0 | 0 |
2. จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น ( วันที่ 4 - 7 เมษายน 2565) |
||
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำจัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น ( วันที่ 4 - 7 เมษายน 2565) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (out put) อบรมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงาน นอกระบบในชุมชน
ผลลัพท์ (outcome)
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบได้ความรู้ เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน |
0.00 |
|
||
2 | แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจสุขภาพ ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
3 | แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ ตัวชี้วัด : แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติได้รับการส่งต่อ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 330 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบใ | 180 | ||
อสม. / ผู้นำชุมชน | 30 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (2) แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 100 (3) แรงงานนอกระบบที่มีผลการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ ผิดปกติ ได้รับการรักษา/ส่งต่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ (2) จัดประชุมให้ความรู้พร้อมตรวจสุขภาพ แก่ผู้นำชุมชน อสมประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ/แรงงานนอกระบบในชุมชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่นๆละ 60 คน จำนวน 3 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพแรงงานนอกระบบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ 13 ตำบลโคกสักอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3330-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......