กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุมา รินชะ

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3330-1-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2564 ถึง 16 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2564 - 16 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,045.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับบริโภคที่ส่งผลโดยตรงต่อภาวะสุขภาพ ประกอบด้วย อาหาร ยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวล้วนมี มาตรการภาครัฐ สำหรับควบคุมคุณภาพมาตรฐานและโดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่ก็มีรายงานการตรวจพบ สารอันตรายห้ามใช้หรือสิ่งควบคุมเกินมาตรฐานกำหนดในผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆมาโดยตลอด การดำเนินงานเฝ้า ระวังความปลอดภัยในการบริโภค ด้านอาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆเช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคด้านต่างๆในชุมชน เนื่องจาก พบว่าในหมู่บ้านที่ห่างไกลความเจริญ สื่อความรู้ ต่างๆเข้าไม่ถึงหรือยังมีน้อย พบว่ามีร้านค้าในชุมชน รวมทั้งรถเร่ นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทย มาจำหน่ายแก่ประชาชนในชุมชน ประกอบกับในปัจจุบัน มีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในคลื่นวิทยุชุมชน ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคด้านต่างๆ อาจตก เป็นเหยื่อ หรือได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาเหล่านั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาปฏิชีวนะและอาหารเสริมที่มีส่วนผสมสเตียรอยด์ ทำให้เกิดการรับสารที่อันตรายและได้รับ อย่างไม่สมเหตุสมผล ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนระยะยาว จากการสำรวจร้านค้าปี 256๔ ครั้งที่ 1จำนวน 19 ร้าน ร้านอาหาร 8 ร้าน และแผงลอยจำนวน 5 ร้าน เขต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน พบร้านขายของชำ ขายขนมหมดอายุและเสื่อมสภาพ 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 ฉลากขนมไม่มี อย. 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 ฉลากขนมไม่มีวัน เดือน ปีที่ผลิต หรือหมดอายุ 3 ร้าน ร้อยละ 15.79 และยังพบมีร้านชำบางร้าน จำหน่ายบุหรี่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนด้วยพลังของชุมชน เป็นระบบเครือข่าย และคณะทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ยา ไม่ปลอดภัย การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังรถเร่ หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ในชุมชน ทำให้ชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เฝ้าระวัง ความปลอดภัยของประชาชน และชุมชน ทั้ง 6 หมู่บ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร อสม แม่ครัวโรงเรียนบ้านโคกสัก/โรงเรียนวัดลอน และคนงานทั่วไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 52
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ประกอบการสามารถจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพให้แก่ผู้บริโภค 2. ผู้ประกอบการ และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้ ในเรื่องอาหารสะอาด ปลอดภัยได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร อสม แม่ครัวโรงเรียนบ้านโคกสัก/โรงเรียนวัดลอน และคนงานทั่วไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

-บรรยายวิชาการเรื่อง สิทธิผู้บริโภค -บรรยายวิชาการเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา -บรรยายวิชาการเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร -บรรยายวิชาการเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง -คัดเลือกคณะกรรมการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ปิดประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้ประกอบการมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน -ผู้ประกอบการสามารถจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพให้แก่ผู้บริโภค

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้ประกอบการมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒.อสมมีศักยภาพ ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชน 3.มีภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
52.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 52
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน ๒. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร อสม แม่ครัวโรงเรียนบ้านโคกสัก/โรงเรียนวัดลอน และคนงานทั่วไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3330-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุมา รินชะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด