กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวันเพ็ญ สังเขตร

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3329-2-32 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3329-2-32 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุขในระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันโดยตรงต่ออัตราการตาย และการป่วย โรคไข้เลือดออกจึงส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามลำดับ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อกและเสียชีวิตได้ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบบ่อยใน กลุ่มเด็กอายุระหว่างอายุ 5-9 ปี แต่ปัจจุบันสามารถพบผู้ป่วยได้ทุกกลุ่มอายุ และโรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เรื่อยมา ซึ่งในแต่ละปีมีรายงานระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออก ที่มีข้อมูลเกิดโรคในอัตราการป่วยที่ยังคงสูง และคาดว่าจะมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ในปีที่ผ่านมา อำเภอตะโหมด พบการระบาดของโรคตั้งแต่ช่วงที่ยังไม่เข้าสู้ช่วงฤดูฝน ส่วนใหญ่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ ครอบคลุมทุกตำบลในอำเภอตะโหมด เมื่อพบผุ้ป่วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขลงพื้นที่ตรวจสอบโรคและพ่นหมอกควันรัศมี 100 เมตร ทันที แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมการระบาดได้ โดยมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้นอย่างต่เนื่อง จึงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องเร่งแก้ไข ควบคุมอย่างเร่งด่วน
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในหมู่บ้านให้ลดน้อยลง 3.เพื่อลดค่า HI และ ค่า CI ในหมู่บ้าน 4. เพื่อลดอัตราป่วนโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.ประชาชนในหมู่บ้านมีความตระหนักในการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการเน้นให้ประชาชน อสม. และผู้นำชุมชน ได้มรความรู้และสามารถป้องกันตัวเองจากโรคไข้เลือดออกได้ และให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย และสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้ผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น โดยปีนี้พบผู้ป่วยน้อยลงกว่าปีอื่น 1.1 ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น ประเมินกิจกรรมดังนี้ -การรณรงค์ทำลายทำหลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายโดย อสม.และประชาชนทั่วไป มีการแจกทรายอะเบดและโลชั่นทากันยุง และทำลายภาชนะน้ำขัง
    -ติดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์วิธีการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ได้รับความสนใจจากประชาชน สังเกตุการจากการสอบถามประชาชน อสม.3เก็ย ลด 3 โรค ไเ้ -สำรวจลูกน้ำยุงลายจาก อสม. ที่มีการสำรวจทุกเดือน พบว่าภาชนะที่มีน้ำขังและลูกน้ำลดน้อยลงพบลูกน้ำยุงลายจำนวนมาก ขณะทำโครงการ อสม. พบภาชนะที่มีน้ำขังลดน้อยลง 1.2กำจัด ควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในหมู่บ้านลดน้อยลง -การควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการพ่นหมอกควันในบ้านที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกและบ้านใกล้เคียงรัศมี 100 เมตร -ฉีดเสปรย์กำจัดและแจกโลชั่นกันยุงให้แก่ผู้ป่วย ปัญหาที่พบ ผู้ป่วยไข้เลือดออก จะมีการพ่นหมอกควันในบ้านและบริเวณบ้านผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร แต่พบว่าบ้างบ้านไม่ให้ความร่วมมือที่จะฉีดพ่นหมอกควัน เหตุผลเพราะเหม็นกลิ่นน้ำมัน และทำให้พื้นบ้านสกปรก

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในหมู่บ้านให้ลดน้อยลง 3.เพื่อลดค่า HI และ ค่า CI ในหมู่บ้าน 4. เพื่อลดอัตราป่วนโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในหมู่บ้านให้ลดน้อยลง 3.เพื่อลดค่า HI และ ค่า CI ในหมู่บ้าน 4. เพื่อลดอัตราป่วนโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 64-L3329-2-32

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวันเพ็ญ สังเขตร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด