กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย หมู่ที่ 5 ตำบลลำปำ ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 5 ตำบลลำปำ
วันที่อนุมัติ 8 กรกฎาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 3,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพวงทิพย์ หนูบูรณ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.651,100.141place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกร(คน)ที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวน 80 คน

1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพเชิงรุก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 64ส.ค. 64ก.ย. 64
1 ตรวจสารเคมีในเลือด(11 พ.ค. 2564-11 พ.ค. 2564) 3,200.00      
2 แนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(11 พ.ค. 2564-18 พ.ย. 2554) 0.00      
3 3.รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินการและจัดทำรายงาน(1 ก.ค. 2564-31 ก.ค. 2564) 0.00      
4 1.ให้คำแนะนำเรื่องการป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช -ให้คำแนะนำเรื่องวิธีการล้างผักให้ปลอดภัย-สื่อสารความเสี่ยงที่พบรายบุคคล/รายกลุ่มแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย(1 พ.ค. 2565-31 ก.ค. 2565) 0.00      
5 2. จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพเชิงรุกประกอบด้วย -สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช -เจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงพิษสารกำจัดศัตรูพืช - แนะนำสมุนไพรลดล้างพิษสำหรับผู้มีความเสี่ยง(1 พ.ค. 2565-31 ก.ค. 2565) 0.00      
6 ประเมินความเสี่ยง(11 พ.ค. 2565-11 พ.ค. 2565) 0.00      
รวม 3,200.00
1 ตรวจสารเคมีในเลือด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 3,200.00 0 0.00
11 พ.ค. 64 ตรวจสารเตมีในเลือด 30 3,200.00 -
2 แนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 0.00 0 0.00
11 พ.ค. 64 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 30 0.00 -
3 3.รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินการและจัดทำรายงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 1.ให้คำแนะนำเรื่องการป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช -ให้คำแนะนำเรื่องวิธีการล้างผักให้ปลอดภัย-สื่อสารความเสี่ยงที่พบรายบุคคล/รายกลุ่มแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
5 2. จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพเชิงรุกประกอบด้วย -สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช -เจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงพิษสารกำจัดศัตรูพืช - แนะนำสมุนไพรลดล้างพิษสำหรับผู้มีความเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
6 ประเมินความเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 0.00 0 0.00
11 พ.ค. 64 ประเมินความเสี่ยง 30 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรรู้ภาวะสารเคมีในเลือดของตนเอง 2.เกษตรกรและผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.ค. 2564 14:35 น.