กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางยามีนา มะแด (กองทุนสุขภาพตำบลสามัคคี รพ.สต.บ้านมะนังปันยัง

ชื่อโครงการ สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2515-1-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2515-1-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพชุมชนเป็นการดำเนินการที่ก่อให้เกิดความรู้ และแนวทางปฏิบัติตามหลักการที่เกี่ยวข้องกับวิถีชุมชน ทั้งนี้แนวทางการพัฒนาสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งไม่สามารถปฏิบัติได้ถ้าประชาชนในชุมชนไม่ให้ความร่วมมือ ชุมชนที่เข้มแข็งด้านสุขภาพจะมีกระบวนการในการจัดการของชุมชน มีการเรียนรู้ มีกิจกรรมที่เพิ่มคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจร่วมกันของคนในชุมชน ภายใต้ความสัมพันธ์ระหว่างคนและสิ่งแวดล้อมในชุมชน รวมถึงการดำเนินงานที่เป็นเครือข่าย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องสร้างบทบาทในการสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็น เพื่อให้การกำหนดอนาคตและกิจกรรมพัฒนาด้านสุขภาพของชุมชนเกิดขึ้นจากคนในชุมชนอย่างแท้จริง สามารถแก้ปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่ร่วมกันโดยคนในชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมกำหนดแนวทาง และทำกิจกรรมการพัฒนาร่วมกันโดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงจากภายนอก ด้วยการคำนึงถึงศักยภาพชุมชน ทรัพยากร ภูมิปัญญาชุมชน วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมในชุมชนเป็นฐานในการปฏิบัติ
ดังนั้น การสำรวจชุมชนด้านสุขภาพนั้นเพื่อต้องการสำรวจปัญหาด้านสุขภาวะ และด้านอื่นๆ ตลอดจนการเคลื่อนไหวเพื่อดำเนินการมีส่วนร่วมรับผิดชอบการจัดการปัญหาสุขภาพ ชุมชน และสำรวจถึงความจำเป็นและความต้องการพื้นฐานด้านสุขภาพ ลักษณะการสำรวจภาคสนามนี้มีโดยใช้เครื่องมี 7 ชิ้นเป็นเครื่องมือศึกษาชุมชนที่ นายแพทย์โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ได้พัฒนาจากเครื่องมือของนักมนุษยวิทยาที่ใช้ในการศึกษาชุมชนให้มีความเหมาะสมกับการศึกษาด้านสุขภาพ ประกอบด้วยแผนที่เดินดิน ผัง เครือญาติโครงสร้างองค์กรชุมชน ระบบสุขภาพชุมชน ปฏิทินชุมชน ประวัติศาสตร์ชุมชน และประวัติชีวิต ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยังจึงได้จัดโครงการสำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพของชุมชน นำข้อมูลไปวิเคราะห์ นำสู่แผนสุขภาพระดับหมู่บ้าน และแก้ไขปัญหาสุขภาพร่วมกันโดยคณะกรรมการหมู่บ้านและทุกภาคส่วนร่วมมือกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อต้องการทราบสภาพปัญหาด้านสุขภาพปัจจุบันของชุมชน และสถานการณ์ด้านสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพพื้นฐานของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 37
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถนำข้อมูลด้านสุขภาวะ ของชุมชนในการจัดทำแผนงานด้านสุขภาพแต่ละปีได้
    2. สามารถเข้าใจโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเครือญาติของชุมชน
    3. สามารถเห็นภาพรวมของระบบสุขภาพที่สามารถเชื่อมโยงกับมิติต่าง ๆ ของชุมชน เห็นความหลากหลายของวัฒนธรรมสุขภาพที่ดำรงอยู่ในชุมชน เข้าใจถึงวัฒนธรรมความเชื่อ วิธีปฏิบัติ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของท้องถิ่น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อต้องการทราบสภาพปัญหาด้านสุขภาพปัจจุบันของชุมชน และสถานการณ์ด้านสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพพื้นฐานของชุมชน
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของครัวเรือได้รับการสำรวจและ เห็นภาพรวมของระบบสุขภาพที่สามารถเชื่อมโยงกับมิติ ต่าง ๆ ของชุมชน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 37 37
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 37 37
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อต้องการทราบสภาพปัญหาด้านสุขภาพปัจจุบันของชุมชน และสถานการณ์ด้านสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพพื้นฐานของชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สำรวจข้อมูลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 64-L2515-1-007

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางยามีนา มะแด (กองทุนสุขภาพตำบลสามัคคี รพ.สต.บ้านมะนังปันยัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด