การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ”
ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
จิตอาสาตำบลสามัคคี (จิตอาสาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2515-2-004 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2515-2-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกใน 38 ประเทศ ข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม – 26 กุมภาพันธ์ 2563 (07.00 น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน 80,427 ราย เสียชีวิต 2,712 ราย ส่วนประเทศจีนพบผู้ป่วย 77,666 ราย เสียชีวิต 2,664 ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล 16 ราย กลับบ้านแล้ว 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 ของผู้ป่วยในประเทสไทย รวมสะสม 40 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563)
ทีมงานจิตอาสาตำบลสามัคคี ซึ่งอาสามารับผิดชอบการสำรวจกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสเสี่ยงสูงกับผู้ติดเชื้อโควิด 19 แล้ว จึงมีมาตรการในการเฝ้าระวังในการกักตัวอยู่บ้านในกรณีที่ทางเจ้าหน้าที่หาที่กักตัวในระบบไม่ได้ การกักตัวอยู่กับบ้าน มาตรการของทีมงานจิตอาสา จึงต้องมีความเข้มข้น ในการตรวจวัดไข้ การฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อบริเวณรอบบ้านของผู้กักตัว กั้นแนวแขตห่วงห้ามบริเวณบ้าน เพื่อลดพื้นที่เสี่ยงให้กับชุมชน ลดการแพร่ระบาดในชุมชน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่มาตรวจ SWAB ให้แก่ผู้กักตัว ตลอดจนต้องมีความเสี่ยงต่อผู้มากักตัว เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของทีมงานจิตอาสา.เองและบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ควบคุม เพื่อลดระดับการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส
- สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- ตรวจคัดกรองผู้กักตัว สอบสวน และบันทึกข้อมูลส่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
- ทำความสะอาดในศูนย์กักกัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา
- ปฏิบัติการฉีดพ่นก่อนและหลัง การกักตัวของกลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา
- ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และรายงานผู้บังคับบัญชา
- สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุน ทราบ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถควบคุมและลดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาในชุมชนได้
- ทำให้ลดการแพร่ระบาดในชุมชนวงกว้าง
- ลดความเสี่ยงต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
วันที่ 22 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถป้องกันและควบคุมสถานการ์ณป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
50.00
60.00
มีการเฝ้าระวังในกลุ่มเสียงสูงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ควบคุม เพื่อลดระดับการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (2) สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (3) ตรวจคัดกรองผู้กักตัว สอบสวน และบันทึกข้อมูลส่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (4) ทำความสะอาดในศูนย์กักกัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (5) ปฏิบัติการฉีดพ่นก่อนและหลัง การกักตัวของกลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา (6) ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และรายงานผู้บังคับบัญชา (7) สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุน ทราบ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2515-2-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( จิตอาสาตำบลสามัคคี (จิตอาสาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ”
ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
จิตอาสาตำบลสามัคคี (จิตอาสาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา)
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2515-2-004 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2515-2-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกใน 38 ประเทศ ข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม – 26 กุมภาพันธ์ 2563 (07.00 น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน 80,427 ราย เสียชีวิต 2,712 ราย ส่วนประเทศจีนพบผู้ป่วย 77,666 ราย เสียชีวิต 2,664 ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล 16 ราย กลับบ้านแล้ว 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 ของผู้ป่วยในประเทสไทย รวมสะสม 40 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563)
ทีมงานจิตอาสาตำบลสามัคคี ซึ่งอาสามารับผิดชอบการสำรวจกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสเสี่ยงสูงกับผู้ติดเชื้อโควิด 19 แล้ว จึงมีมาตรการในการเฝ้าระวังในการกักตัวอยู่บ้านในกรณีที่ทางเจ้าหน้าที่หาที่กักตัวในระบบไม่ได้ การกักตัวอยู่กับบ้าน มาตรการของทีมงานจิตอาสา จึงต้องมีความเข้มข้น ในการตรวจวัดไข้ การฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อบริเวณรอบบ้านของผู้กักตัว กั้นแนวแขตห่วงห้ามบริเวณบ้าน เพื่อลดพื้นที่เสี่ยงให้กับชุมชน ลดการแพร่ระบาดในชุมชน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่มาตรวจ SWAB ให้แก่ผู้กักตัว ตลอดจนต้องมีความเสี่ยงต่อผู้มากักตัว เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของทีมงานจิตอาสา.เองและบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ควบคุม เพื่อลดระดับการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส
- สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- ตรวจคัดกรองผู้กักตัว สอบสวน และบันทึกข้อมูลส่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
- ทำความสะอาดในศูนย์กักกัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา
- ปฏิบัติการฉีดพ่นก่อนและหลัง การกักตัวของกลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา
- ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และรายงานผู้บังคับบัญชา
- สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุน ทราบ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถควบคุมและลดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาในชุมชนได้
- ทำให้ลดการแพร่ระบาดในชุมชนวงกว้าง
- ลดความเสี่ยงต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
||
วันที่ 22 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถป้องกันและควบคุมสถานการ์ณป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : |
50.00 | 60.00 | มีการเฝ้าระวังในกลุ่มเสียงสูงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ้านเรือนของผู้กักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคด้วยวิธีการฉีดพ่นแอลกอร์ฮอล ทำความสะอาดทั้งในและภายนอกบ้านเรือนของผู้กักตัว เพื่อควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ควบคุม เพื่อลดระดับการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (2) สวมชุดปฏิบัติการทุกครั้งในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (3) ตรวจคัดกรองผู้กักตัว สอบสวน และบันทึกข้อมูลส่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (4) ทำความสะอาดในศูนย์กักกัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (5) ปฏิบัติการฉีดพ่นก่อนและหลัง การกักตัวของกลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา (6) ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และรายงานผู้บังคับบัญชา (7) สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุน ทราบ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2515-2-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( จิตอาสาตำบลสามัคคี (จิตอาสาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......