กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิวัฒน์เสนาทิพย์

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560 - L3306 - 2 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560 - L3306 - 2 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"ยาเสพติด"ปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้ เพราะปัญหายาเสพติดทีี่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศ เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังงานแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติดการสร้างภูมิคุ้มกันและสร้างระบบป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเองคือเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหา สร้างตัวตนสร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูงกล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งที่ท้า นอกจากนี้ นักค้ายาเสพติดต่างมองว่า เยาวชนส่วนใหญ่มีเงิน จึงมีความมั่นใจว่าการค้ายาเสพติดกับเยาวชนนั้นจะทำให้มีลูกค้าอยู่เสมอ จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทางชมรมจึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายในโครงการ To Be Number One ปี 2560 ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้สร้างแรงจูงใจที่ดีให้กับเด็กเยาวชนนักเรียน นักศึกษา ทั้งในและนอกระบบ และผู้ปกครองได้หลีกไกลจากยาเสพติด ให้รู้ถึงพิษภัยที่เกิดจากยาเสพติด เพื่อลดการแพร่ระบาทของยาเสพติดทุกชนิด และสร้างกลไรของการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาให้เกิดขึ้นอีกทั้งสองต่อพระราชดำริของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีที่ประสงค์จะแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยผ่านการจัดกิจกรรมโครงการ To Be Number One

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในต้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพ่ระบาด วิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด
  2. เพื่อให้เด็ก และเยาวชน และผู้ปกครอง มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยังครอบครัว ชุมชนได้
  3. เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิต โดยสามารถหลีักเลี่ยงจากยาเสพติดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในด้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพร่ระบาด และวิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด 2.กลุ่มเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ผู้นำภาคปกครองท้องที่ ผู้นำชุมชน มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยังครอบครัว ชุมชนได้ 3.กลุ่มเด็ก และเยาวชน ได้ตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิต โดยสามารถหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้

    วันที่ 2 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญายาเสพติด วิเคราะห์แนวทางในการช่วยกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน 

     

    50 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในต้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพ่ระบาด วิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมากขึ้น

     

    2 เพื่อให้เด็ก และเยาวชน และผู้ปกครอง มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยังครอบครัว ชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้แก่บุคคลอื่นได้

     

    3 เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิต โดยสามารถหลีักเลี่ยงจากยาเสพติดได้
    ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับรู้ถึงโทษและอันตรายจากยาเสพติดไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งในต้านลักษณะและชนิดของสารเสพติด สถานการณ์การแพ่ระบาด วิธีการป้องกันไม่ให้ติดยา/สารเสพติด (2) เพื่อให้เด็ก และเยาวชน และผู้ปกครอง มีความสามารถในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา/สารเสพติดและการป้องกันไปยังครอบครัว ชุมชนได้ (3) เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษและข้อเสียของยาเสพติด และมีทักษะในการใช้ชีวิต โดยสามารถหลีักเลี่ยงจากยาเสพติดได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้โครงการ To Be Number One ปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560 - L3306 - 2 - 02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิวัฒน์เสนาทิพย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด