กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง
วันที่อนุมัติ 23 กรกฎาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวโซเฟีย หะยีมะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.963,101.398place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโ๕โรนา 2019 (COVID 19) ในปี 2564 ยังคงทวีความรุนแรงมากขึ้รอย่างต่อเนื่องทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงจังหวัดชายแดนภาคได้ จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2564 มีรางงานผู้ป่วยยืนยันในประเทศไทย ติดเชื้อสะสม 481,967 ราย หายป่วย 328,008 ราย อยู่ระหว่างการรักษา 150,248 ราย ผู้ป่วยยืนยันเสียชีวิต 3,930 ราย และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID 19) ในพื้นที่จังหวัดยะลา พบผู้ติดเชื้อจำนวนมากในหลายพื้น โดยในพื้นที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พบผู้ติดเชื้อสะสมระลอกตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 จำนวน 328 ราย โดยเป็นผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การติดเชื้อของประชาชนในตำบลอัยเยอร์เวงโดยส่วนใหญ่ เกิดจากการเดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงในจังหวัดใกล้เคียง นำมาสู่การติดเชื้อภายในครอบครัว ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อคลัสเตอร์ต่างๆ ตามมาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวงและทำให้มีการปิดหมู่บ้านจำนวนหลายหมู่บ้านตามมา จากสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการเฝ้าระวังผู้เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างครัดและมีประสิทธิภาพ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงได้มีการจัดตั้งศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย ( Local Quarantine) ประจำตำบลอัยเยอร์เวงขึ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง โดยมียอดสะสมผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) ป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ยาเสพติด กิจกรรมโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด To be number one (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในชุมชน/หมู่บ้าน) ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี แล้ว เป็นจำนวน 52 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2564) และมีแนวโน้มที่จะมีผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลหลังวันฮารีรายอ   จากแนวโน้มการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของจำนวนผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine)องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) เพื่อรองรับจำนวนผู้มีความเสี่ยงต้องสังเกตอาการที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการจัดตั้งศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) ส่วนขยายชั่วคราว เพื่อรองรับประชาชนผู้กลับจาดพื้นที่เสี่ยงในช่วงเทศกาลวันฮารีรายอ   ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง จึงดำเนินการจัดทำโครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 ขึ้น เพื่อบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวงให้มีประสิทธิภาพ มีความพร้อม เพียงพอ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังบุคคล ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง

ร้อยละของผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการติดเชื้อครบ 14 วัน

100.00
2 เพื่อจัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกแก่บุคคลผู้เข้ากักกันในศูนย์

ร้อยละของบุคคลผู้เข้ากักกันในศูฯย์ มีวัสดุอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก เพียงพอ

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 64ส.ค. 64ก.ย. 64
1 กิจกรรมที่ 1(23 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564) 100,000.00      
รวม 100,000.00
1 กิจกรรมที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 100,000.00 1 916,450.00
12 ก.ย. 65 กิจกรรมบริหารระบบศูนย์สังเกตการณ์เริ่มป่วย 50 100,000.00 916,450.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวงมีความพร้อม ปลอดภัยและสามารถเฝ้าระวังดูแลผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ก.ค. 2564 10:54 น.