โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12 เลขที่ข้อตกลง 30-2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ในประเทศไทยพบว่า จำนวนผู้ติดเชื้อสะสม ผู้ป่วยเสียชีวิต และผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ยังเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอกใหม่นี้ได้กระจายออกไปในหลายพื้นที่เป็นวงกว้าง โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดยะลาของเรายังคงมีแนวโน้มผู้ติดเชื้อสะสมเพิ่มสูงขึ้น ข้อมูล ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2564 พบว่า ผู้ป่วยยืนยันสะสมตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 มีจำนวน 5,352 ราย และผู้ติดเชื้อรายใหม่จำนวน 164 ราย ทั้งนี้ พื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดยะลา มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมมากที่สุดจำนวน 2,184 ราย และผู้ป่วยรายใหม่ 72 ราย ที่สำคัญคือ เขตเทศบาลนครยะลา ซึ่งตั้งอยู่ในตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวน 650 ราย และผู้ป่วยรายใหม่ 31 ราย และผู้เสียชีวิต จำนวน 7 ราย ดังนั้น ประชาชนทุกคน ทุกครอบครัว ทุกชุมชน ต้องร่วมมือกันอย่างเต็มที่ โดยที่ผ่านมามาตรการสำคัญของการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) คือ การเว้นระยะห่าง สวมใส่หน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ ตรวจวัดอุณหภูมิ และปฏิบัติตามมาตราการของจังหวัดยะลาอย่างเคร่งครัด รวมไปถึงการให้ประชาชนตั้งแต่อายุ 18 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงให้ได้รับการฉีดวัคซีน และด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดในพื้นที่เขตเทศบาลที่ยังคงมีความรุนแรง อีกหนึ่งมาตรการที่สำคัญคือ การให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง และได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจะเกิดขึ้นภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 โดยเฉพาะที่สำคัญคือ การแพร่กระจายเชื้อลงสู่ปอดอย่างรุนแรง ทำให้การรักษายาวนานขึ้น จนอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้
วารสารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือน กรกฎาคม 2563 ได้เสนอบทความกระชายกับศักยภาพการพัฒนาเป็นยาต้านไวรัสก่อโรคโควิด-19 ที่มีผลการศึกษาวิจัยที่พบว่า สารสกัดจากกระชาย นอกจากมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดี มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ช่วยต้านการเสื่อมของกระดูกอ่อนในหลอดทดลองแล้ว ยังพบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลชีพก่อโรคทั้งเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอีกด้วย และที่สำคัญเมื่อวันที่1 มิถุนายน 2563 มีรายงานการศึกษาวิจัยจากศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เกี่ยวกับความก้าวหน้าของการค้นหายาต้านเชื้อไวรัสโคโรนาจากสารสกัดธรรมชาติและสมุนไพรที่เป็นอาหารของคนไทย จำนวน 121 ตัวอย่าง ซึ่งผลการศึกษาพบว่า มีสารสกัดจำนวน 6 ชนิด ที่มีศักยภาพยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีปริมาณความเข้มข้นของยาระดับน้อยๆ และไม่เป็นพิษต่อเซลล์ โดยการศึกษาดังกล่าว พบสารสกัดจากสมุนไพร 2 ชนิด ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ถึง 100% คือ สารากัดจากขิง และกระชายขาว ซึ่งเมื่อนำมาวิเคราะห์ พบว่าสาระสำคัญจากกระชายขาวมีฤทธิ์แรงที่สุด โดยให้ฤทธิ์แรงกว่าสารสกัดบริสุทธิ์ฟ้าทะลายโจร 30 เท่า และแรงกว่าสารสกัดขิง 10 เท่า ซึ่งถือว่าดีที่สุดในบรรดาสารที่นำมาทดสอบทั้งหมด โดยสารสำคัญ 2 ชนิดหลักในกระชายขาวที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสโควิด-19 คือ แพนดูเรทินเอ (panduratin A) และพินอสตรอบิน (pinostrobin) ทั้งนี้ ตามตำรายาไทย ใช้เหง้ากระชายช่วยขับลม ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ปวดมวนท้อง รักษาโรคในปาก เช่น ปากเปื่อย ปากเป็นแผล ปากแห้ง ช่วยขับระดูขาว ขับปัสสาวะ รักษาโรคบิด การแพทย์พื้นบ้านใช้บำรุงกำลัง บำรุงกำหนัด แก้กามตายด้านเป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
- 2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
- 3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงเครือข่ายสุขภาพชุมชน และเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการแพทย์ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 20 คน
- กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อและการกระจายยาสมุนไพรกระชายขาวสู่ผู้ติดเชื้อโควิด-19
- กิจกรรมที่ 3 การประชาสัมพันธ์การใช้สมุนไพรกระชายขาวรักษาติดเชื้อโควิด-19
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้ และประยุกต์ใช้สมุนไพรกระชายขาวในครัวเรือนสำหรับการรักษาติดเชื้อโควิด-19 ด้วยตนเอง
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในสภาวะสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างคลอบคลุม
- ลดการแพร่ระบาด ลดการเกิดความรุนแรงของโรค และลดการสูญเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 80 ของผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
0.00
2
2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
ตัวชี้วัด : 2 ร้อยละ 80 ของผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
0.00
3
3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
ตัวชี้วัด : 3 ร้อยละ 80 ของผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
10
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว (2) 2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว (3) 3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงเครือข่ายสุขภาพชุมชน และเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการแพทย์ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 20 คน (2) กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อและการกระจายยาสมุนไพรกระชายขาวสู่ผู้ติดเชื้อโควิด-19 (3) กิจกรรมที่ 3 การประชาสัมพันธ์การใช้สมุนไพรกระชายขาวรักษาติดเชื้อโควิด-19
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12 เลขที่ข้อตกลง 30-2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ในประเทศไทยพบว่า จำนวนผู้ติดเชื้อสะสม ผู้ป่วยเสียชีวิต และผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ยังเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอกใหม่นี้ได้กระจายออกไปในหลายพื้นที่เป็นวงกว้าง โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดยะลาของเรายังคงมีแนวโน้มผู้ติดเชื้อสะสมเพิ่มสูงขึ้น ข้อมูล ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2564 พบว่า ผู้ป่วยยืนยันสะสมตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 มีจำนวน 5,352 ราย และผู้ติดเชื้อรายใหม่จำนวน 164 ราย ทั้งนี้ พื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดยะลา มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมมากที่สุดจำนวน 2,184 ราย และผู้ป่วยรายใหม่ 72 ราย ที่สำคัญคือ เขตเทศบาลนครยะลา ซึ่งตั้งอยู่ในตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวน 650 ราย และผู้ป่วยรายใหม่ 31 ราย และผู้เสียชีวิต จำนวน 7 ราย ดังนั้น ประชาชนทุกคน ทุกครอบครัว ทุกชุมชน ต้องร่วมมือกันอย่างเต็มที่ โดยที่ผ่านมามาตรการสำคัญของการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) คือ การเว้นระยะห่าง สวมใส่หน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ ตรวจวัดอุณหภูมิ และปฏิบัติตามมาตราการของจังหวัดยะลาอย่างเคร่งครัด รวมไปถึงการให้ประชาชนตั้งแต่อายุ 18 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงให้ได้รับการฉีดวัคซีน และด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดในพื้นที่เขตเทศบาลที่ยังคงมีความรุนแรง อีกหนึ่งมาตรการที่สำคัญคือ การให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง และได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจะเกิดขึ้นภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 โดยเฉพาะที่สำคัญคือ การแพร่กระจายเชื้อลงสู่ปอดอย่างรุนแรง ทำให้การรักษายาวนานขึ้น จนอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้
วารสารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ประจำเดือน กรกฎาคม 2563 ได้เสนอบทความกระชายกับศักยภาพการพัฒนาเป็นยาต้านไวรัสก่อโรคโควิด-19 ที่มีผลการศึกษาวิจัยที่พบว่า สารสกัดจากกระชาย นอกจากมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดี มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ช่วยต้านการเสื่อมของกระดูกอ่อนในหลอดทดลองแล้ว ยังพบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลชีพก่อโรคทั้งเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอีกด้วย และที่สำคัญเมื่อวันที่1 มิถุนายน 2563 มีรายงานการศึกษาวิจัยจากศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เกี่ยวกับความก้าวหน้าของการค้นหายาต้านเชื้อไวรัสโคโรนาจากสารสกัดธรรมชาติและสมุนไพรที่เป็นอาหารของคนไทย จำนวน 121 ตัวอย่าง ซึ่งผลการศึกษาพบว่า มีสารสกัดจำนวน 6 ชนิด ที่มีศักยภาพยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีปริมาณความเข้มข้นของยาระดับน้อยๆ และไม่เป็นพิษต่อเซลล์ โดยการศึกษาดังกล่าว พบสารสกัดจากสมุนไพร 2 ชนิด ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ถึง 100% คือ สารากัดจากขิง และกระชายขาว ซึ่งเมื่อนำมาวิเคราะห์ พบว่าสาระสำคัญจากกระชายขาวมีฤทธิ์แรงที่สุด โดยให้ฤทธิ์แรงกว่าสารสกัดบริสุทธิ์ฟ้าทะลายโจร 30 เท่า และแรงกว่าสารสกัดขิง 10 เท่า ซึ่งถือว่าดีที่สุดในบรรดาสารที่นำมาทดสอบทั้งหมด โดยสารสำคัญ 2 ชนิดหลักในกระชายขาวที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสโควิด-19 คือ แพนดูเรทินเอ (panduratin A) และพินอสตรอบิน (pinostrobin) ทั้งนี้ ตามตำรายาไทย ใช้เหง้ากระชายช่วยขับลม ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้ปวดมวนท้อง รักษาโรคในปาก เช่น ปากเปื่อย ปากเป็นแผล ปากแห้ง ช่วยขับระดูขาว ขับปัสสาวะ รักษาโรคบิด การแพทย์พื้นบ้านใช้บำรุงกำลัง บำรุงกำหนัด แก้กามตายด้านเป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
- 2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว
- 3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงเครือข่ายสุขภาพชุมชน และเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการแพทย์ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 20 คน
- กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อและการกระจายยาสมุนไพรกระชายขาวสู่ผู้ติดเชื้อโควิด-19
- กิจกรรมที่ 3 การประชาสัมพันธ์การใช้สมุนไพรกระชายขาวรักษาติดเชื้อโควิด-19
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้ และประยุกต์ใช้สมุนไพรกระชายขาวในครัวเรือนสำหรับการรักษาติดเชื้อโควิด-19 ด้วยตนเอง
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในสภาวะสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างคลอบคลุม
- ลดการแพร่ระบาด ลดการเกิดความรุนแรงของโรค และลดการสูญเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 80 ของผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว |
0.00 |
|
||
2 | 2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว ตัวชี้วัด : 2 ร้อยละ 80 ของผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว |
0.00 |
|
||
3 | 3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ ตัวชี้วัด : 3 ร้อยละ 80 ของผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด–19 ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว (2) 2 ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้สูงที่จะติดเชื้อ ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาว (3) 3 ผู้ที่ได้รับการักษาด้วยสมุนไพรกระชายขาวมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการสาธารณสุขจากโครงการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงเครือข่ายสุขภาพชุมชน และเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการแพทย์ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 20 คน (2) กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อและการกระจายยาสมุนไพรกระชายขาวสู่ผู้ติดเชื้อโควิด-19 (3) กิจกรรมที่ 3 การประชาสัมพันธ์การใช้สมุนไพรกระชายขาวรักษาติดเชื้อโควิด-19
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรกระชายขาวรักษาผู้ติดเชื้อ โควิด-19 และกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่การระบาด เทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64 – L7452 – 1 - 12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......