กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวีระวุธ อั้นทอง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1497-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1497-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินได้ทวีความรุนแรงจนเสี่ยงที่จะเกิดภาวะวิกฤตด้านสาธารณสุข โดยมีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งไม่แสดงอาการแต่สามารถแพร่เชื้อโรคได้เพิ่มขึ้นในอัตราเร่งที่สูงมาก ประกอบกับเชื้อโรคได้กลายพันธุ์เป็นหลายสายพันธุ์และสามารถแพร่กระจายได้ง่าย อีกทั้งสถานการณ์การแพร่ระบาดในต่างประเทศอันอาจกระทบต่อประเทศไทยยังอยู่ในระดับที่รุนแรงจนไม่อาจวางใจได้ ส่งผลให้ผู้ติดเชื้อรายใหม่และผู้ป่วยสะสมเพิ่มขึ้นและมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก อันส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของประชาชนโดยรวม ข้อมูลการแพร่ระบาดในประเทศไทย จากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2564 ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 13,002 ราย ผู้ป่วยรักษาอยู่จำนวน 131,411 ราย ผู้เสียชีวิตรายใหม่ จำนวน 108 ราย และรายงานสถานการณ์ COVID-19 จังหวัดตรัง วันที่ 21 กรกฎาคม 2561 ผู้ป่วยระลอกใหม่เมษายน 2564 (1 เมษายน 2564 เป็นต้นไป) ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 49 ราย ผู้ป่วยสะสม 1,949 ราย ผู้ป่วยยังรักษาอยู่ ร.พ. 235 ราย เสียชีวิต 1 ราย เสียชีวิต (สะสม) 4 ราย   ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่ มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่สถานที่แออัด หรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม พยายามอย่าสัมผัสใบหน้า ดวงตา จมูก และปาก รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือที่ถูกวิธี
    ได้มีการอาศัยอำนาจของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 มาใช้ในการแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวด้วย โดยมีการกำหนดมาตรการป้องกันที่สำคัญ คือการให้ประชาชนสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อและป้องกันมิให้เกิดสภาวะที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และจำกัดวงในการระบาดของโรค และอาศัยคำสั่งของจังหวัดตรัง ที่ 1566/2564 ลงวันที่ 17 เมษายน 2564 เรื่องให้ประชาชนในพื้นที่จังหวัดตรัง สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้งเมื่อออกนอกเคหสถาน หรือบริเวณสถานที่พำนักของตน องค์การบริหารส่วนตำบลนาโยงใต้ ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ คำเเนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์เรื่องการป้องกันการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผ่านช่องทางต่างๆ
  2. รับทราบ รับฟังปัญหาความต้องการจากประชาชน ในเรื่องความต้องการวัสดุที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดหาแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  4. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามจำนวนครัวเรือนที่มีความต้องการ
  5. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และเเจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,638
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางป้องกันควบคุมการระบาดได้
  2. ประชาชนในพื้นที่ได้ป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อโดยสวมหน้ากากอนามัย
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำเเนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4638
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,638
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำเเนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์เรื่องการป้องกันการเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผ่านช่องทางต่างๆ (2) รับทราบ รับฟังปัญหาความต้องการจากประชาชน ในเรื่องความต้องการวัสดุที่ใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดหาแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (4) การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามจำนวนครัวเรือนที่มีความต้องการ (5) ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และเเจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1497-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวีระวุธ อั้นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด