กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ


“ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ”

ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรุณี สุวรรณพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5237-2-01 เลขที่ข้อตกลง 8/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5237-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โลกมีการแพร่ระบาดของการติดเชื้อโควิด-19 อย่างกว้างขวางและมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลของศุูนย์ข้อมูลโควิด-19กรมประชาสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2564 มีรายงานผู้ป่วยสะสมยืนยันในประเทษไทยจำนวน 307,508 คน จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยยืนยันสะสม 6762 คน ข้อมูลจากประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลาเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 256 ในจังหวัดสงขลามีผู้เสียชีวิตสะสม 30 คนสำหรับอำเภอสทิงพระมีผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 250 คน การระบาดระลอกใหม่นี้มีรายงานผู้ป่วยปและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น และพบผู้ป่วยในหลายพื้นที่ ตลอดจนมีรายงานการติดต่อระหว่างคนสู่คนภายในประเทศ จึงเป็นเหตุผลสำคัญให้ทางองค์การอนามัยโลกได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินระดับโลก จากสถานการณ์การแพร่ระบาดรอบใหม่ของประเทศไทย ทำให้ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกาศยกระดับพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 10 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สามุครสาคร สมุครปราการ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสงขลา โดยการจำกัดการเดินทางไม่ให้ออกจากบ้าน 3 ทุ่มถึงตี 4 ยกเว้นกรณีจำเป็น ระบบขนส่งสาธารณะ ปิด3 ทุ่มถึงตี 4 ร้านสะดวกซื้อปิด2 ทุ่มถึงตี4 มีผลบังคับใช้ 12 กรกฎาคม 2564 ซึ่่งเป็นไปตามคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 9/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดพื้นที่ควบคุมสูงสุด พื้นที่ควบคุม แลพื้นที่เฝ้าระวังสูงตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 พื้นที่รับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลจะทิ้งพระ มีความเสี่ยงที่จะเกิดการแพร่เชื้อหรืออาจเกิดการระบาดของโคโควิด-19 (COVID-19) ในพื้นที่ได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูงที่เดินทางมาจากจังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุดและจังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบการ โรงงาน และอื่นๆ กลุ่มเสี่ยงสูงเหล่านี้จะต้องแยกตัวออกจากกลุ่มคนในที่พักของตนเอง งดการทำกิจกรรมใดๆร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งการเฝ้าระวังผู้สูงอายุ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงซึ่งเป็นกลุ่มที่มีภูมิต้านทานต่อโรคต่ำมีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต หากป่วยเป็นโรคโควิด-19 ดังนั้นเพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน และเพื่อลดความเสี่ยงในกลุ่มผู้สูงอายุ ในพื้นที่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (ม.1 ม.2 ม.6 ม.7) ตำบลจะทิ้งพระ จึงจัดทำโครงการโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวที่บ้าน (ถ้ามีการกักตัว) และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจ สาสมารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องตามมาตราการป้องกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข
  2. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน (อสม.) มีวัสดุ/อุปกรณ์ สำหรับการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
  3. 3. เพื่อระวังป้องกันไม่ให้มีการแพร่เชื้อของโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน
  4. 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน ได้รับการคัดกรองและดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน/เจ้าหน้าที่
  2. กิจกรรมจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ฯ
  3. กิจกรรมแนะนำ/ใหความรู้และคัดกรองสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 517
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข 2.ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน ได้รับการคักรองและดูแลสุขภาพ 3.ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน มีวัสดุ/อุปกรณ์ สำหรับการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) 4.ความเสี่ยงที่เกิดจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชนมีน้อย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวที่บ้าน (ถ้ามีการกักตัว) และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจ สาสมารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องตามมาตราการป้องกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนของผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน และสมาชิกในครัวเรือน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลจะทิ้งพระ ที่ได้รับการให้คำแนะนำในการปฏิบัติตน
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน (อสม.) มีวัสดุ/อุปกรณ์ สำหรับการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุ ผู้กักตัวที่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานมีวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สำหรบการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 (โควิด-19)
0.00

 

3 3. เพื่อระวังป้องกันไม่ให้มีการแพร่เชื้อของโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยเป็นโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน
0.00

 

4 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน ได้รับการคัดกรองและดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน ที่ได้รับการคัดกรองและดูแลสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 557
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 517
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวที่บ้าน (ถ้ามีการกักตัว) และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจ สาสมารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องตามมาตราการป้องกันและควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน (อสม.) มีวัสดุ/อุปกรณ์ สำหรับการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) (3) 3. เพื่อระวังป้องกันไม่ให้มีการแพร่เชื้อของโรคติดเชือ้ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในชุมชน (4) 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่กักตัวอยู่ที่บ้าน ได้รับการคัดกรองและดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน/เจ้าหน้าที่ (2) กิจกรรมจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ฯ (3) กิจกรรมแนะนำ/ใหความรู้และคัดกรองสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5237-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรุณี สุวรรณพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด