กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-9 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด - 19 ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนมีผู้ติดเชื้อรายใหม่วันละ 10,000 รายต่อวัน ประชาชนทั่วไปได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70 ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขเกิดความล้มเหลว โดยมีกลุ่มเสี่ยงจำนวนไม่น้อยที่ปกปิดการสัมผัสผู้ติดเชื้อ (timeline) ทำให้การค้นหาแหล่งของโรคมีความยุ่งยากมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้รับเชื้อมีโอกาสอาศัยหรือคลุกคลีกับผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อสูง ด้วยเหตุนี้ การคัดกรองการติดเชื้อชนิด Rapid Test ผ่านการตรวจเนื้อเยื่อในโพรงจมูก (Swap) ด้วยเครื่องตรวจ Antigen Rapid Test สามารถใช้คัดกรองกลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ได้อย่างรวดเร็วและมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น เพื่อนำส่งกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไปสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยผ่านห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป ดังนั้น สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลยาบี ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีอำนาจความรับผิดชอบในการส่งเสริมป้องกันโรคตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ นั้น สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลยาบี จึงขอจัดทำโครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงสูงของตำบลยาบีได้รับการตรวจคัดกรองโรค ด้วยวิธีการ Rapid Test ซึ่งเป็นการรับมือและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากภายในตำบลยาบี ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Quarantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคด้วยวิธีการ Rapid Test
  2. 2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
  3. 3. เพื่อลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
  4. 4. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
  2. 2.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test (2 ครั้ง)
  3. 3.รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
  3. ลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
  4. มีความพร้อมด้านชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 สำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.

วันที่ 10 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ยาบี
  2. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
  3. ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  4. รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
  3. ลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
  4. มีความพร้อมด้านชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 สำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม

 

142 0

2. 2.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test (2 ครั้ง)

วันที่ 16 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ยาบี
  2. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
  3. ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  4. รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
  3. ลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
  4. มีความพร้อมด้านชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 สำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม

 

142 0

3. 3.รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

วันที่ 30 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ยาบี
  2. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
  3. ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  4. รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test
  2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
  3. ลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
  4. มีความพร้อมด้านชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 สำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม

 

142 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมโครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี ประจำปี 2564 โดยมีกิจกรรมสำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม., ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test (2 ครั้ง),รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจคัดกรองฯ ใช้ชุดตรวจ 1 – 2 ชุด ต่อคน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Quarantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคด้วยวิธีการ Rapid Test
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Quarantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคด้วยวิธีการ Rapid Test
100.00

 

2 2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป
100.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี
ตัวชี้วัด : 3. อัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี ลดลง
100.00

 

4 4. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต
ตัวชี้วัด : 4. มีชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 พร้อมสำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Quarantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคด้วยวิธีการ Rapid Test (2) 2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป (3) 3. เพื่อลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี (4) 4. เพื่อจัดหา/เตรียมชุดตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 ไว้ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มในอนาคต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. (2) 2.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test  (2 ครั้ง) (3) 3.รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-9 รหัสสัญญา 15/2564 ระยะเวลาโครงการ 10 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. 2.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. 2.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลยาบี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ยาบี 2.สำรวจกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลยาบี โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. 3.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test 4.รวบรวมรายชื่อผู้มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อจากผลตรวจ Rapid Test เพื่อนำส่งเข้าสู่ระบบการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและการรักษาต่อไป

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test 2.กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโควิด – 19 จากการตรวจวิธี Rapid Test ได้รับการตรวจและวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการเพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษาต่อไป 3.ลดอัตราการเกิดกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลยาบี 4.มีความพร้อมด้านชุดอุปกรณ์การตรวจคัดกรองโรคโควิด – 19 สำหรับการลงพื้นที่ตรวจเชิงรุกในอนาคต หากมีกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อเพิ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.เว้นระยะห่าง 1-2 เมตร เลี่ยงการอยู่ในที่แออัด 2.สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา 3.ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์
4.การตรวจวัดอุณหภูมิและตรวจหาเชื้อโควิด 19 ในกรณีที่มีอาการเข้าข่าย
5.สแกนไทยชนะก่อนเข้า-ออกสถานที่สาธารณะทุกครั้ง เพื่อให้มีข้อมูลในการประสานงานได้ง่ายขึ้น

ห่างไกลจากสถานการณ์การเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

ประชาชนในตำบลยาบีมีสุขภาพร่างกายที่เเข็งเเรง ห่างไกลจากการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ประชาชนในตำบลยาบี มีร่างกายที่เเข็งเเรง ห่างไกลจากโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

การลด การสูบบุหรี่ และอบายมุขทั้งหลายที่มีผลการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

-ช่วยหยุดการแพร่ระบาดของโควิด-19 -สุขภาพดีขึ้น ไม่เครียดง่าย -ใช้เวลาว่างหันมาออกกำลังกาย สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย -มีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น -มีความภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือสังคม และเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับผู้อื่น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การพักผ่อนให้เพียงพอ

-ช่วยให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันห่างไกลจากโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การใช้สมุนไพรในการดูเเลรักษาเเละป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายตัวเองห่างไกลจากโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-การทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) -การรักษาระยะห่างทางสังคม (ยืนในระยะห่าง 2 เมตร) -การปิดปากเเละจมูกเวลามีอาการ -การล้างมือด้วยสบู่เเละเจลเเอลกอฮอล์ล

ช่วยให้ห่างไกลจากการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-ขยะติดเชื้อ ควรทิ้งใส่ถุงขยะ และใส่น้ำยาฟอกขาวหรือน้ำยาฆ่าเชื้อ 2 ฝาก่อนใส่ถุงอีกชั้น จากนั้นปิดปากถุงให้สนิท -ควรใส่ขยะติดเชื้อในถุงสีแดง หรือถ้าไม่มีถุงสีแดง ควรเขียนหน้าถุงว่าขยะติดเชื้อก่อนทิ้งที่ถังขยะ -ก่อนทำการทิ้งขยะติดเชื้อ ควรตรวจสอบก่อนว่าถุงรั่วและขาดหรือไม่

ป้องกันการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

1.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ให้ทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออันตราย และปฏิบัติตามกฎ กติกาของชุมชนและบังคับใช้โดยชุมชน ประกอบกับต้องมีการแจ้งแนะนำเตือนบุคคลภายนอกที่เข้ามาในชุมชนเราด้วย

เป็นการลดการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการปรึกษาหารือและระดมสมองร่วมกันอย่างมีส่วนร่วมเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันในการสร้างมาตรการทางสังคมในระดับตำบล

สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

1.แต่ละองค์กรมีการจับมือรวมพลังแสดงบทบาทร่วมรับผิดชอบ และหนุนเสริมเพื่อช่วยเสริมมาตรการของรัฐอย่างเป็นระบบ และเป็นเอกภาพในการรับมือกับการระบาดของไวรัส

1.การบูรณาการภารกิจ เครื่องมือ และทรัพยากรของแต่ละองค์กรเข้าด้วยกัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  1. กำหนดมาตรการทางสังคมร่วมกัน เพื่อเป็นมาตรการส่งเสริมสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไม่ให้เกิดขึ้นในตำบล

1.คนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ให้สามารถกลับมามีร่างกาย จิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1.ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test ครบตามจำนวนเป้าหมายที่มีการวางไว้

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลยาบีและพนักงาน/เจ้าหน้าที่ อบต.ที่ปฏิบัติงานใน Local Qaurantine ตำบลยาบี ได้รับการคัดกรองโรคโควิด – 19 ด้วยวิธีการ Rapid Test

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

1.การปฏิบัติตนของบุคคล ให้ดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุข มีสมดุล เหมาะสม ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และปฏิบัติตนตามมาตรการที่ทางราชการแนะนำ

1.คนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ให้สามารถกลับมามีร่างกาย จิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

1.จัดกิจกรรมฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบให้มีพืชอาหารบริโภค ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้

1.ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และสร้างมั่นคงทางอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

1.ผู้นำท้องที่, ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครต่างๆ ร่วมเฝ้าระวัง ตรวจสอบคนเข้าออกหมู่บ้าน เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงช่วงกักตัว 14 วัน

1.ประชาชนในตำบลห่างไกลจากการเเพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โครงการคัดกรองเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในตำบลยาบี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด