กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L333-05-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L333-05-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID 19)มีการระบาดเป็นวงกว้าง ตั้งแต่เดือนธันวาคม ๒๕๖๒ เป็นต้นมา และเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ประเทศไทย พบผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ ๒๑,๐๓๘ ราย พบผู้ป่วยติดเชื้อสะสมแล้ว จำนวน ๗๘๘,๑๒๖ ราย เป็นการเสียชีวิต ๒๐๗ ราย เสียชีวิตสะสม ๖,๗๐๑ ราย ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด 19 (ศบค.) และจังหวัดพัทลุง พบผู้ป่วยติดเชื้อ ๓๕ ราย ผู้ป่วยติดเชื้อสะสม จำนวน ๒,๑๕๖ ราย เสียชีวิตสะสม ๑๔ราย ข้อมูลจากประชาสัมพันธ์จังหวัดพัทลุง ซึ่งในตำบลหารหารเทา มีรายงานยืนยันตรวจพบผู้ป่วยติดเชื้อและมีแนวโน้มแพร่ระบาดกระจายเป็นวงกว้างในเขตพื้นที่ตำบลหารเทา ส่งผลกระทบต่อประชาชนและผู้ที่เดินทางกลับภูมิลำเนาจากพื้นที่เสี่ยงสูงและผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่สีแดงเข้ม ๒๙ จังหวัดต่อการติดต่อโรคดังกล่าวมายังพื้นที่ตำบลหารเทาเป็นจำนวนมาก ทำให้การรับรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำให้ตลอดจนอาการป่วยก็มีระดับความรุนแรงน้อยและมาก ซึ่งโรงพยาบาลต้องใช้สถานที่ในการดูแลผู้ป่วยหนักและมีความจำเป็น และสถานการณ์ของผู้ไปทำงานในพื้นที่สีแดงเข้มมีแนวโน้มจะถูกผลักดันให้กลับบ้าน ซึ่งบุคคลเหล่านี้อาจสัมผัสเชื้อไวรัสโคโรนา ทางจังหวัดได้ประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานที่กักตัวแบบพื้นที่ หรือLocal Quarantine เพื่อใช้ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางมาจาก พื้นที่สีแดงเข้ม จำนวน ๒๙ จังหวัด เพื่อลดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ในพื้นที่
  ดังนั้น เพื่อให้การยกระดับมาตรการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และประกอบกับจังหวัดพัทลุงได้มีหนังสือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งจัดตั้งสถานที่กักกันและสังเกตอาการผู้สัมผัสเสี่ยงสูงระดับตำบล เทศบาลตำบลหารเทาจึงได้จัดตั้งสถานที่กักกันและสังเกตอาการผู้สัมผัสเสี่ยงสูงระดับตำบล ณ อาคารอเนกประสงค์เทศบาลตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุงขึ้น และ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๘ (๒) และ มาตรา ๕๐ (๔) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบกับกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศ เรื่อง แต่งตั้ง เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๕ (๒.๒) เพื่อการป้องกัน และควบคุมการแพร่โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงในสถานที่กักตัวแบบพื้นที่ หรือ Local Quarantine
  2. ข้อที่ 2. เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่สีแดงเข้ม จำนวน ๒๙ จังหวัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมใช้อาคารเอนกประสงค์ (ตลาดโค้ง)เพื่อการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงสูงติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 2. ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการกักตัว100%


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงในสถานที่กักตัวแบบพื้นที่ หรือ Local Quarantine
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 บุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่สีแดงเข้ม จำนวน ๒๙ จังหวัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 บุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่สีแดงเข้มได้รับการคัดกรอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงในสถานที่กักตัวแบบพื้นที่ หรือ Local Quarantine (2) ข้อที่ 2. เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่สีแดงเข้ม จำนวน ๒๙ จังหวัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมใช้อาคารเอนกประสงค์ (ตลาดโค้ง)เพื่อการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L333-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด