กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขยะมีบุญ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน หมู่ที่ 6
วันที่อนุมัติ 31 สิงหาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 28,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควนหมู่ที่ 6
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ประเทศไทยเริ่มลดใช้ถุงพลาสติกอย่างจริงจัง โดยข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระบุว่าปริมาณการใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วในประเทศไทยมีจำนวนมหาศาลถึง 45000 ล้านใบ ต่อปี เมื่อดีเดย์มาตรการดังกล่าวคาดว่าส่งผลให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดลดลง 225,000ตันต่อปี หน่วยงานภาครัฐประหยัด งบประมาณในการจัดการขยะมูลฝอยได้ 340 ล้านบาทต่อปี ประหยัดพื้นที่รองรับและกำจัดขยะมูลฝอยในการฝังกลบได้ประมาณ ๖๑๖ ไร่ ถือเป็นที่น่าชื่นชมที่เราเห็นหลายคนเริ่มตระหนักถึงปัญหาขยะ เราจะเห็นแฟชั่นถุงผ้าหลากหลายแบบ รวมถึงการประยุกต์ใช้ภาชนะ อื่น 1 ไปใส่ของแทนถุงพลาสติก แต่จะดีกว่าไหม หากเราสามารถจัดการปัญหาขยะได้ตั้งแต่ต้นทางไปยังปลายทาง และสามารถสร้าง ของสิ่งของที่ใช้แล้ว ซึ่งการจัดการขยะ ในส่วนของมาตรการของภาครัฐเพียงอย่างเดียวบางทีอาจจะได้ผลไม่มาก หลักธรรมเรื่องบุญเข้ามาเชื่อมโยง ทั้งนี้ปัญหาขยะในปัจจุบันของพื้นที่ยังคงมีให้เห็นเนื่องจากประชาชนขาดจิตสำนึก มีการทิ้งขยะบริเวณ ดจนพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนเราได้เปลี่ยนไปจากเดิมทำให้เกิดมูลฝอย และของเสียอันตร ผลกระทบที่ตามมามีทั้งความสูญเสี่ยทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมูลพิษทางน้ำ ทางดินเสื่อมสภาพ ความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่น เหม็นรบกวน รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค ริมสุขภาพบ้านหัวควน หมู่ที่ ๖ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแยกขยะโดยอาศัยหลักการศาสนาเข้ามาประ จกรรม จึงได้ดำเนินการจัดโครงการขยะมีบุญ ประจำปี ๒๕๖๔ ขึ้นเพื่อห้ประชาชนในพื้นที่ได้เกิดการเ ารแยกขยะและเรียนรู้การแยกขยะประเภทต่างๆ โดยนำหลักการเรื่องความสะอาดสู่การปฏิบัติจริงเป็นรูปธร การศึกษาอิสลามประจำมัสยิดตาดีกา)เป็นศูนย์กลางในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ และสร้างความรักและความสัมพันธ์อันดีในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑ เพื่อให้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา)เป็นศูนย์กลางในการดำเนินกิจกรรมต่างๆของชุมชน และสร้างความรักและความสัมพันธ์อันดีของพี่น้องในชุมชน

_

0.00
2 ข้อที่ ๒ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้เกิดการเรียนรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแยกขยะและเรียนรู้การแยกขยะประเภทต่างๆ

ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนได้เกิดการเรียนรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแยกขยะและเรียนรู้การแยกขยะประเภทต่างๆ

0.00
3 ข้อที่ ๓ เพื่อต้องการทำให้มีการนำหลักการเรื่องความสะอาดสู่การ ปฏิบัติจริงเป็นรูปธรรม

ร้อยละ 90 ของประชาชนในชุมชนนำหลักการเรื่องความสะอาดสู่ การปฏิบัติจริงเป็นรูปธรรม

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 28,600.00 0 0.00
??/??/???? ขั้นเตรียมการ 0 0.00 -
31 ส.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ขั้นดำเนินงาน 0 28,600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
  2. ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และลดความรำคาญต่อชุมชน
  3. สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และการทิ้งขยะมูลฝอยนำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษ ความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่นเหม็นรบกวน รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรคที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2564 00:00 น.