กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายศุภวัฒน์ เจ๊ะแต

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2986-05-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2986-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยยังคงพบผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึงสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดปัตตานี พบว่า มีแนวโน้มทวีความรุงแรงและพบการระบาดในวงกว้างมาขี้น และในหลายพื้นที่อยู่ในระดับรุงแรง ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวติประจำวันของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี ประกอบด้วย 4หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้นจำนวน3,104 คน เป็นอีหนึ่งตำบลที่พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม 2564 รวมทั้งสิ้นจำนวน37ราย แยกเป็นรายหมู่บ้าน ดังนี้หมู่ที่ 1 บ้านลูกไม้ไผ่ พบผู้ติดเชื้อทั้งหมดจำนวน 16 รายคิดเป็นอัตราการป่วย 1,086.96 ต่อแสนประชากรหมู่ที่ 2 บ้านแลแวะ พบผู้ติดเชื้อทั้งหมดจำนวน 3 รายคิดเป็นอัตราการป่วย 193.30 ต่อแสนประชากร หมู่ที่ 3บ้านตะโละแมะนา พบผู้ติดเชื้อทั้งหมดจำนวน 10 รายคิดเป็นอัตราการป่วย 1,246.88 ต่อแสนประชากร หมู่ที่ 4 บ้านตะโละนิบง พบผู้ติดเชื้อทั้งหมดจำนวน 8 รายคิดเป็นอัตราการป่วย 851.97 ต่อแสนประชากร จะพบว่าหมู่ที่ 1 บ้านลูกไม้ไผ่ พบการติดเชื้อมาที่สุด รองลงมาเป็นหมู่ที่ 3 บ้านตะโละแมะนาและหมู่บ้านที่พบการติดเชื้อน้อยที่สุด คือหมู่ที่ 2 บ้านแลแวะ ตำบลตระโละแมะนา ยังไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ถึงแม้ว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีมาตรการที่สำคัฐในการควบคุมโรค โดยมีการค้นหาผู้ติดเชื้อ ดูแรักษา แยกกัก การกักตัวดูและรักษาที่บ้าน การตัังศูนย์พักคอยเพื่อเตรียมรองรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่กอ่นนำส่งโรงพยาบาลหรืองโรงพยาบาลสนามก็ยังพบผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื้อง อย่างไรก็ตาม การตรวจกาเชื้อเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มบุคคลเสี่ยง และกิจกรรมที่เสี่ยง ถือว่าเป็นมาตรการสำคัญมาตรการหนึ่งในการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคมากขึ้น ดังนั้นเพื่อการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วงกว้างในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา มากขึ้นนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เล็งเห็นถึงความสำคับเกี่ยวกับการควบคุมและการป้องกันโรค ด้วยวิธีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเชิงรุกด้วยวัสดุการแพทย์ สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และทราบผลการตรวจเชื้อฯ ภายใน 20-30 นาที เหมาะสำหรับการตรวจหาเชื้อเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มบุคคลเสี่ยง และ กิจกรรมที่เสี่ยง เพื่อควบคุมและป้องกันการระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ด้วยชุดทดสอบ Antigen Test Kit (ATK) ในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มบุคคลเสี่ยง และกิจกรรมเสี่ยง ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา เพื่อเข้าสู่กระบวนการดำเนินการดูแลรักษา แยกกัก การกักตัวดูและรักษาที่บ้าน ศูนย์พักคอย หรือ โรงพยาบาลสนาม ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี2. เพื่อคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนาจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึงเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ - ค่าป้าย ขนาด 1*3 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 900 บาท 2. กิจกรรมเชิงรุกใกนารตรวจคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยว่าติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ด้วยชุดทดสอบ Antigen Test Kit (ATK)
  2. วิธีการดำเนินการ ขั้นการเตรียมการ 1. จัดทำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาร 2. ประชุมทีมงานในการกำหนดแนวทางในการดำเนินงานตรวจประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ด้วยชุดทดสอบAntigen ในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา 3. ดำเนินการตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา 2. ประชาชนในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนาสามารถดำเนินชีวิตประจำวันแบบ New Normal ได้อย่างปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ด้วยชุดทดสอบ Antigen Test Kit (ATK) ในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มบุคคลเสี่ยง และกิจกรรมเสี่ยง ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา เพื่อเข้าสู่กระบวนการดำเนินการดูแลรักษา แยกกัก การกักตัวดูและรักษาที่บ้าน ศูนย์พักคอย หรือ โรงพยาบาลสนาม ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี2. เพื่อคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนาจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึงเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด :
2.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงรุก ด้วยชุดทดสอบ Antigen Test Kit (ATK) ในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มบุคคลเสี่ยง และกิจกรรมเสี่ยง ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา เพื่อเข้าสู่กระบวนการดำเนินการดูแลรักษา แยกกัก การกักตัวดูและรักษาที่บ้าน ศูนย์พักคอย หรือ โรงพยาบาลสนาม ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี2. เพื่อคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนาจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึงเป็นวิธีการป้องกันและลดการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์  - ค่าป้าย ขนาด 1*3 เมตร จำนวน  1 ผืน    เป็นเงิน  900  บาท  2. กิจกรรมเชิงรุกใกนารตรวจคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยว่าติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา  2019  (COVID-19) เชิงรุก ด้วยชุดทดสอบ Antigen Test Kit (ATK) (2) วิธีการดำเนินการ  ขั้นการเตรียมการ  1. จัดทำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาร  2.  ประชุมทีมงานในการกำหนดแนวทางในการดำเนินงานตรวจประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ด้วยชุดทดสอบAntigen ในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา 3. ดำเนินการตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตำบลตะโละแมะนาอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2986-05-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศุภวัฒน์ เจ๊ะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด