กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล


“ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล ”

ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายปฎิพล พันธ์เศรษฐ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2.17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2.17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในพื้นที่ตำบลชุมพล จะพบปัญหาเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดจำนวนมาก เนื่องจากยังขาดการจัดกิจกรรมสำหรับส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ดังนั้น ชมรม ทูบี นัมเบอวัน (กลุ่มบ้านโคกกอ)หมู่ที่ 1 ตำบลชุมพลจึงได้จัดกิจกรรมฝึกซ้อมดนตรีหลังเลิกเรียน ขึ้นเพื่อให้มีกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
  2. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกซ้อมการเล่นดนตรีหลังเลิกเรียน
  2. จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนป้องกันปัญหายาเสพติด( Camp TO BE NUMBER ONE )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชน โดยการปรับพฤติกรรม ที่เน้นสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกซ้อมการเล่นดนตรีหลังเลิกเรียน

วันที่ 10 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมฝึกซ้อมการเล่นดนตรีหลังเลิกเรียนเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตนและการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สำหรับจ่ายเป็น 1.ค่าจัดซื้อตู้ลำโพง(หัวแอมร์) จำนวน1ตัว เป็นเงิน 9,000 บาท 2.ค่าจ้างปรับพื้นตกแตงสถานที่จัดกิจกรรม 5,000บาท 3.ค่าจัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ ในจัดกิจกรรมเป็นเงิน ุ7,350 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เด็กและเยาวชนมีสถานที่จัดกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น1แห่ง ผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติดในด้านการป้องกันเพิ่มขึ้น

 

20 0

2. จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนป้องกันปัญหายาเสพติด( Camp TO BE NUMBER ONE )

วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด และ กิจกรรมส่งเสริมการสร้างสมรรถนะแห่งตน/ทักษะชีวิตในการหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุ /ทักษะการจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชน โดยการคัดกรองและปรับพฤติกรรม ที่เน้นสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ จำนวน 50 คน รายละเอียดกิจกรรม 1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ โดยหัวหน้าโครงการ 2. การเตรียมสถานที่ การกำหนดกกิจกรรมการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมควบคุมป้องกันปัญหายาเสพติด โดยวิทยากร......................... 3. จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล รายละเอียดประมาณ
1) ค่าป้ายไวนิลปะชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x3 ตรม.ๆละ 150 บาท เป็นเงิน    450 บาท 2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท/คน/มื้อ  จำนวน  3 มื้อ เป็นเงิน  5,250 บาท 3) ค่าอาหาร  80 บาท/ คน /มื้อ  จำนวน  2  มื้อ เป็นเงิน  8,000 บาท 4) ค่าสมนาคุณวิทยากร  600 บาท/คน/ชม.  จำนวน  6 ชม. เป็นเงิน  3,600 บาท 5) ค่าพาหนะ เหมาจ่าย 120 บาท/คน เป็นเงิน  6,000 บาท 6) ค่าวัสดุ เช่น น้ำ /น้ำแข็ง เป็นเงิน    350 บาท รวมเป็นเงิน  23,650 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม 50คน ผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติดในด้านการป้องกันเพิ่มขึ้น

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)
2.00 3.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
450.00 420.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกซ้อมการเล่นดนตรีหลังเลิกเรียน (2) จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนป้องกันปัญหายาเสพติด( Camp TO BE NUMBER ONE )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลชุมพล จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2.17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปฎิพล พันธ์เศรษฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด