กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานา มะนอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 10/2564 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 10/2564 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างได้แก่ จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ที่แพร่ระบาดอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ทำให้มีผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นและมีรายงานผู้เสียชีวิตรายวันเพิ่มขึ้น จากข้อมูลศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 จังหวัดยะลา ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564 มีรายงานผู้ติดเชื้อ 194 ราย ผู้ป่วยสะสม 11,112 ราย รักษาหาย 9,028 ราย และเสียชีวิต 110 ราย และจากข้อมูลศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 อำเภอกรงปินัง ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2564 มีรายงานพบผู้ติดเชื้อในตำบลกรงปินัง จำนวน 13 ราย ผู้ป่วยสะสม 436 ราย กำลังรักษา 90 ราย รักษาหาย 341 ราย และเสียชีวิต 5 ราย
จังหวัดยะลาจึงได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มีส่วนในการจัดหาวัคซีนเพื่อนำมาฉีดให้กับประชาชนในพื้นที่ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค การจัดบริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงและกลุ่มประชาชนอายุ 18-59 ปี เพื่อให้ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนครอบคลุมมากที่สุด ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงการใช้วัคซีนที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพและเพื่อป้องกัน ยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ลดการแพร่กระจายของโรคสู่ผู้อื่น ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่และลดอัตราการเสียชีวิต องค์การบริหารส่วนตำบลกรงปินังรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง โดยบูรณาการร่วมกับเครือข่ายสุขภาพอำเภอกรงปินัง กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลกรงปินัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลือมุ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
  3. เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่ประชาชนในพื้นที่
  2. การจัดบริการฉีดวัคซีน โควิด-19 เชิงรุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 180
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงหรือรับบริการวัคซีนเชิงรุกได้ ร้อยละ 70 ขึ้นไป     2.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19
3.ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 และเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงบริการวัคซีน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 900
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 180
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 (3) เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่ประชาชนในพื้นที่ (2) การจัดบริการฉีดวัคซีน โควิด-19 เชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลกรงปินัง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 10/2564

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารียานา มะนอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด