กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 ”

ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยทัต ยอดณรงค์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงทำให้คนในชุมชนเผชิญกับเหตุการณ์ ภาวะวิกฤติในชีวิต ปัญหาด้านเศรษฐกิจสังคม การเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ ทำให้เกิดความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวจากสังคม ขาดสัมพันธภาพและการสื่อสารในครอบครัว รู้สึกท้อแท้เบื่อหน่ายในชีวิตปัญหาต้องออกจากงานและคนส่วนใหญ่ต้องกลับมาภูมิลำเนาเดิม วิถีชีวิตต้องเปลี่ยนจากเดิม รายได้ลดลง สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยทำให้คนมีภาวะซึมเศร้า เครียด ความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองลดลงเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าเหนาะเล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการสุขภาพส่งเสริมจิตพิชิตภัย กายใจเป็นสุข เพื่อให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิต มีการช่วยเหลือกันของชุมชนใช้วิธีแก้ปัญหาที่ถูกต้อง มีกิจกรรมต่างๆในชุมชน ส่งผลให้คนในชุมชนอยู่ร่วมกันด้วยความรักสามัคคี มีจิตใจเอื้อเฟื้อช่วยเหลือกัน
    โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัย กายใจเป็นสุข จะเน้นการตรวจคัดกรองปัญหาด้านสุขภาพจิตและมีการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับบุคลทั้งรายบุคคล รายกลุ่ม การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดกระบวนการแก้ปัญหา มีการติดตามโดยแกนนำสุขภาพจิตและ อสม.เพื่อขับเคลื่อนงานเพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ลดปัญหาสุขภาพจิตในบุคคล กลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้า มีความเครียดสูงอื่นๆได้รับการช่วยเหลือ เข้าสู่กระบวนการรักษา ลดปัญหาการทำร้ายตัวเอง ผู้อื่น การฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าเหนาะ ให้ความสำคัญในการกำหนดมาตรการและกลวิธีการดำเนินการเชิงรุกที่จะส่งเสริมสุขภาพจิต การให้บริการด้านสุขภาพจิตแก่บุคคล ชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง สุขภาพจิตดี กายใจเป็นสุข ครอบครัวอบอุ่น ประชาชนเอาใจใส่ เฝ้าสังเกตอาการของตนเอง คนรอบข้างได้ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัย กายใจเป็นสุข ประจำปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียด การเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกวิธี
  2. คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถช่วยเหลือให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตคนรอบข้างและเพื่อนบ้านได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสุขภาพจิตและกลุ่มสงสัยป่วยเข้าสู่กระบวนการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่าง
  2. ค่าอาหารว่าง
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 ป้าย
  5. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564
  6. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564
  7. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564
  8. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต
  2. กลุ่มเสี่ยงมีการปรับอารมณ์สุขภาพจิตดีขึ้น มีทัศนคติที่ดี
  3. อสม. และแกนนำสุขภาพจิตมีแนวทางการดูแลและเฝ้าระวังประชาชนในชุมชน
  4. กลุ่มสงสัยป่วยเข้าสู่กระบวนการรักษา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียด การเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียด การเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกวิธีระชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90

 

2 คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถช่วยเหลือให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตคนรอบข้างและเพื่อนบ้านได้
ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำสุขภาพจิต เข้าร่วมโครงการและมีการติดตามดูแลตามแนวทางร้อยละ80

 

3 กลุ่มเสี่ยงสุขภาพจิตและกลุ่มสงสัยป่วยเข้าสู่กระบวนการรักษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเข้ารับการรักษาร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียด การเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกวิธี (2) คนในชุมชน3 หมู่บ้านสามารถช่วยเหลือให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตคนรอบข้างและเพื่อนบ้านได้ (3) กลุ่มเสี่ยงสุขภาพจิตและกลุ่มสงสัยป่วยเข้าสู่กระบวนการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่าง (2) ค่าอาหารว่าง (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 ป้าย (5) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 (6) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 (7) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 (8) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตภัยกายใจเป็นสุข ปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยทัต ยอดณรงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด