กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ) ”
ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา เจ๊ะแว




ชื่อโครงการ โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ)

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L005-30 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L005-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,879.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมไว้ 5 ประเภท โดยในประเภทที่ 5 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็นเหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้ นั้น  เนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประเทศไทย มีจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการแพร่ระบาดระลอกใหม่นี้ได้แพร่กระจายออกไปในหลายพื้นที่ค่อนข้างรวดเร็ว จากรายงาน สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากศูนย์ข้อมูลโควิด - 19 กรมประชาสัมพันธ์ โดยกรมควบคุมโรค ณ วันที่ 27 สิงหาคม ๒๕๖๔ รายงานสถานการณ์ในประเทศไทย      พบผู้ป่วยรายใหม่ 18,702 ราย ผู้ป่วยสะสมยืนยัน 1,๑10,70๘ ราย หายป่วยแล้ว 916,358 ราย เสียชีวิตรวม ๑0,587 ราย สำหรับจังหวัดปัตตานี ข้อมูล ณ วันที่ 24 สิงหาคม ๒๕๖๔ รายงานสถานการณ์ในจังหวัดปัตตานี พบผู้ป่วยใหม่ 76 ราย ผู้ป่วยสะสมยืนยัน 14,490 ราย หายป่วยแล้ว 10658 ราย เสียชีวิตรวม  2๑0 ราย เมื่อประเมินความเสี่ยงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จะพบว่ามีผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงขึ้นกว่าช่วงก่อนหน้า และพบการระบาดในหลายจังหวัด จากประวัติการสัมผัสโรคที่พบ สัดส่วนการติดเชื้อจากคนใกล้ชิด เช่นคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน และเพื่อนร่วมงานมากขึ้น แสดงว่ามีการแพร่กระจายของเชื้ออยู่ในชุมชนและในครัวเรือนเพิ่มขึ้น และในตำบลพิเทน ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น จำนวน 8,600 คน เป็นอีกหนึ่งตำบลที่พบผู้ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึงเดือน สิงหาคม 2564 รวมทั้งสิ้นจำนวน 131 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคระบาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารตำบลพิเทน ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านงานสาธารณสุข จึงมีความประสงค์ดำเนินโครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา เพื่อใช้ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจจะเกิดขึ้นในระลอกที่ 4 ในพื้นที่ตำบลพิเทนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 มีวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ในการเฝ้าระวังสถานการณ์โรคโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ในชุมชนระดับพื้นที่ (LQ) (HQ)           8.2 มีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) และสามารถให้การดูแลแนะนำประชาชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ           8.3 มีกลุ่มภาคีหลัก ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานสาธารณสุขระดับตำบลได้ร่วมมือกันเป็นแกนหลักในการวางแผน จัดทำฐานข้อมูลและดำเนินงาน ทั้งด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019(covid-19) ร่วมกับ อสม. แกนนำชุมชน องค์กรชุมชน และภาคประชาชนในพื้นที่ระดับตำบล           8.4 มีการสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส    โคโรนา 2019 (covid-19)         8.5. มีสถานที่จัดบริการควบคุมและสังเกตอาการบุคคลที่กลับจากพื้นที่เสี่ยง (LQ) (HQ)      ในตำบลพิเทน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1600
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในศูนย์กักกันเพื่อสังเกตุอาการผู้ต้องสงสัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับพื้นที่ (LQ) (HQ) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L005-30

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปรีชา เจ๊ะแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด