กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ


“ คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน ”

ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสุริยา รอซี

ชื่อโครงการ คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2997-05-01 เลขที่ข้อตกลง 010/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2997-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด -19 ระลอกใหม่ช่วงเดือนเมษายน จวบจนปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้างส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด 19 จำนวนมากกว่าวันละ 1,000 คน ทำให้การจะรับรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรงน้อยและมาก โรงพยาบาลต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้หลายคนอาจป่วยด้วยโควิดสายพันธุ์ แอฟริกา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ค่อนข้างดื้อวัคซีนที่กำลังจะฉีด      สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด - 19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาสและสงขลา ที่ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯและปริมณฑล กระทั่งรัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด เช่นการกักตัวผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงตามที่รัฐบาลได้ประกาศเขตพื้นที่เสี่ยง การงดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่ม การปิดหมู่บ้านหรือการปิดเฉพาะซุ้มหรือคุ้มหมู่บ้าน เป็นต้น      ตำบลบ้านน้ำบ่อก็เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด – 19 โดยที่มีผู้ป่วยสะสมเป็นจำนวน 93 คน ผู้เสียชีวิด 1 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 12 สิงหาคม 2564) อีกทั้งยังมีผู้ที่เข้าข่ายผู้เสี่ยงสูงจำนวนมากที่เข้าสู่กระบวนการกักตัวเพื่อสังเกตอาการ ณ สถานที่เอกเทศกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Local Quarantine) ตำบลบ้านน้ำบ่อ และยังมีผู้ที่เข้าข่ายผู้เสี่ยงต่ำอีกจำนวนไม่น้อยที่ต้องแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดปัตตานีที่ (พิเศษ) 42 / 2564 ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2564 เรื่อง ปิดสถานที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ข้อ 1 ให้ปิดสถานที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดังต่อไปนี้ และมัสยิดและบาลาเซาะห์ตามบัญชีแนบท้ายคำสั่งนี้ (1) คุ้มบ้าน บาโง บ้านบางหมู หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านน้ำบ่อ/คุ้มบ้านน้ำบ่อ บ้านน้ำบ่อ หมู่ที่ ๒ ตำบลบ้านน้ำบ่อ/คุ้มบ้านคอลอกือแง บ้านแฆแฆ หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านน้ำบ่อ/คุ้มบ้านน้ำบ่อตะวันออก บ้านน้ำบ่อตะวันออก หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2564 จนถึงวันที่ 28 กรกฎาคม 2564 (35 วัน)      จากการปิดคุ้มหรือซุ้มหมู่บ้านทำให้มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องกักตัวที่บ้าน เจ้าหน้าที่หลายฝ่ายในตำบลบ้านน้ำบ่อจึงมีความจำเป็นที่จะต้องระดมกำลังเพื่อที่จะป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด – 19 ในพื้นที่ตำบลบ้านน้ำบ่อหรือพื้นที่ที่ทำการปิดคุ้มหรือซุ้มหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่จากฝ่ายท้องที่ ท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อสม. เป็นต้น แต่ด้วยการขาดแคลนหรือการได้รับสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ที่ยังมีจำนวนไม่เพียงพอสำหรับผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ การจัดหาหรือการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และป้องกันผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ให้ปลอดภัยจากโรคโควิด – 19 จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง      จากปัญหาดังกล่าวนี้ ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ส่วนที่ 3 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา 67 (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านน้ำบ่อ จึงเขียนทำโครงการคัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ในการดำเนินการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    คัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด – 19 ในชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L2997-05-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุริยา รอซี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด