กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวันทนามะนะโสตำแหน่งประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้และนางละมัยสืนธิทันยาตำแหน่งรองประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้

ชื่อโครงการ โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1497-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1497-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวิทยาการด้านการแพทย์มีความเจริญ ก้าวหน้ามากขึ้นส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น คนส่วนใหญ่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ทำให้คนมีอายุเฉลี่ยสูงขึ้นมาก ส่งผลต่อสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย คือทำให้จำนวนและสัดส่วนจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คนไทยทุกวันนี้ มีอายุเฉลี่ยน 72 ปี อายุเฉลี่ยนเพศชาย 68 ปี และเพศหญิง 78 ปี (2) เนื่องจากบริบทของสังคมในปัจจุบันมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สังคมจึงมีลักษณะ วัตถุนิยม บริโภคนิยมทำให้ทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนการทำมาหากินเพื่อปากท้องของตนเองและ ครอบครัวจึงเป็นสิ่งจำเป็นหลายครอบครัวจึงจำเป็นต้องทิ้งบ้านเรือนรวมทั้งผู้สูงวัย และผู้พิการ ทำให้ผู้สูงวัยต้องอยู่ตามลำพัง และมีผุ้สูงวัยและผู้พิการ จำนวนมากที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังจากโครงสร้างประชากรที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว พบว่าประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้พิการที่สังคม ต้องดูแล ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผุ้สูงอายุ รวมทั้งผู้ดูแลผู้สูงอายุ จากการเยี่ยมบ้านการดูแลผู้สูงอายุ อายุส่วนใหญ่อยุ่คนเดียว ไม่มี คนในครอบครัวดูแล ต้องพึงพาเพื่อนบ้าน ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการอาสาดูบ้านสานจิตดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการขึ้น ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้าง,ฐานของชุมชนในการดูแลช่วยเหลือครองและพิทักษ์สิทธิ์แก่ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ที่ประสบปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อน แล้วยังครอบคลุมถึงการดูแลสอดส่งและส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชน ทำให้ชุมชนมีจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ และมีความมั่นคงในการดำเนินที่จะให้การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุทุกคนได้ในระยะยาว (Long Tem Care)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน
  2. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภทที่2(ติดบ้าน)และประเภทที่3(ติดเตียง) และผู้พิการเป็นไปอย่างทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้อาสาสมัครที่ผ่านการอบรม 70 ชม.และจิตอาสาในหมู่บ้านทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
  2. ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการ และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง
  3. ส่งต่อรายที่พบความผิดปกติไปยังโรงพยาบาล
  4. ติดตามผลการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและจิตอาสา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีแนวปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและคนพิการในระยะยาว 2.มีศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนะคติที่ดี ในการที่จะดูแลผุ้สูงอายุ ผุ้ป่วยโรคเรื้อรังและคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน 3.ผุ้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และขาดการ ดูแล มีผุ้ให้การดูแล 4.ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและคนพิการ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้อาสาสมัครที่ผ่านการอบรม 70 ชม.และจิตอาสาในหมู่บ้านทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูอาสาสมัครคนเดิมให้มีความรู้ในการฝึกปฏิบัติในชุมชนอย่างมีศักยภาพ -ภาคความรู้ อาสาสมัคร+จิตอาสาในหมู่บ้านจำนวน 70 คน ผ่านการฝึกอบรม 70 ชั่วโมง (เป็นพี่เลี้ยง) -ภาคปฏิบัติ อาสาสมัคร +จิตอาสาในหมู่บ้านจำนวน 70 คน ผ่านการฝึกอบรม 70 ชั่วโมง (เป็นพี่เลี้ยง)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน -เพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง,คนพิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน) และประเภท 3 (ติดเตียง) ผู้พิการ ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ผลลัพธ์ -มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีแนวปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้้อรัง

 

70 0

2. ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการ และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง

วันที่ 18 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ 1.อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุให้ความรู้ในการอบรมในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการได้อย่างถูกต้อง 2.ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สุงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการได้อย่างถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1.มีจิตรอาสาในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 2.ผู้สุงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการได้รับการติดตามการเยี่ยมบ้านและการดูแลดผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ผลลัพท์ 1.ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการได้รับการติดตามการเยี่ยมบ้าน จำนวน 662 คน 2.ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุ ประเภท 2 (ติดบ้าน และประเภท 3 (ติดเตียง) ผู้พิการ จำนวน 11 คน

 

0 0

3. ส่งต่อรายที่พบความผิดปกติไปยังโรงพยาบาล

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ส่งต่อรายที่ผิดปกติส่งต่อพบแพทย์ 1.ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ 2.ส่งต่อรายที่ผิดปกติส่งต่อพบแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.อาสาสมัครจำนวน 70 คน ส่งต่อรายที่ผิดปกติส่งต่อพบเจ้าหน้าที่ได้ 2.มีรายงานการส่งต่อพบเจ้าหน้าที่ ส่งเป็นรายงานเป็นรายเดือน ผลลัพท์ 1. ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการได้รับการติดตามการเยี่ยมบ้านและการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ จำนวน 662 คน ไม่มีการส่งต่อ 2.ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุประเภท 2 (ติดบ้าน และประเภท 3 (ติดเตียง) ผู้พิการ จำนวน 11 คน ได้รับการส่งต่อเจ้าหน้าที่ รพสต.นาโยงใต้ จำนวน 1 คน และส่งต่อพบแพทย์ จำนวน 1 คน

 

0 0

4. ติดตามผลการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและจิตอาสา

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและประเมินการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ 1.เพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2.เพื่อให้การดูและผู้สูงอายุประเภท 2 และ ประเภท 3 ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. มีรายงานติดตามการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการเพื่อการดูแลโดยชุมชนดูแลชุมชนของตัวเองได้ 2. มีรายงานการติดตามเยี่ยมบ้านของผู้สูงอายุประเภท 2 และประเภท 3 ส่งทุก รพสต. นาโยงใต้ทุกเดือน ผลลัพท์ 1.รายงานการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการเป็นรายเดือนโดยอาสาสมัครในชุมชนโดยให้รายงานบุคคลจำนวน 70/ชุด/เดือน 2.รายงานการติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุประเภท 2 และ ประเภท 3 ส่งทุก รพสต. นาโยงใต้ จำนวน 11 ชุด /เดือน รพสต.นาโยงใต้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : จิตอาสาร้อยละ100ได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : จิตอาสาช่วยดูแลสุขภาพผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน

 

3 เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภทที่2(ติดบ้าน)และประเภทที่3(ติดเตียง) และผู้พิการเป็นไปอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ10ของผู้สูงอายุประเภทที่2(ติดบ้าน)และประเภทที่3(ติดเตียง) และผู้พิการเป็นไปอย่างทั่วถึง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในหมู่บ้าน (2) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุประเภทที่2(ติดบ้าน)และประเภทที่3(ติดเตียง) และผู้พิการเป็นไปอย่างทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้อาสาสมัครที่ผ่านการอบรม  70  ชม.และจิตอาสาในหมู่บ้านทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ (2) ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง (3) ส่งต่อรายที่พบความผิดปกติไปยังโรงพยาบาล (4) ติดตามผลการดำเนินงานของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและจิตอาสา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาสาดูบ้าน สานจิต ดูสูงวัย สร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1497-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวันทนามะนะโสตำแหน่งประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้และนางละมัยสืนธิทันยาตำแหน่งรองประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด