กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-29-05-64 เลขที่ข้อตกลง 25-05-64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2564 ถึง 6 ตุลาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4137-29-05-64 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2564 - 6 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โควิด-19 จ.ยะลา ในวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 ยังพบผู้ติดเชื้อเพิ่มรายวันนับร้อย            ผู้ป่วยเสียชีวิตเพิ่ม โดยรายใหม่วันนี้มีจำนวน 238 ราย ทำให้ขณะนี้จังหวัดยะลามีผู้ติดเชื้อยืนยันสะสมที่ 6,954 ราย ยังคงรักษาใน รพ. 2,435 ราย รักษาหายแล้ว 4,465 ราย เสียชีวิตรายใหม่ 2 ราย สะสมรวม 54 ราย และจากสถานการณ์ COVID-19 ระลอกใหม่ ตำบลพร่อน ณ.วันที่ 20 สิงหาคม 2564 พบว่า ติดเชื้อสะสม 70 ราย รักษาในโรงพยาบาล 13 ราย HQ./LQ 16 ราย รักษาหาย 41 ราย เสียชีวิตสะสม 1 ราย พบมากในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านควน หมู่ที่ 6 บ้านจาหนัน หมู่ที่ 2 บ้านดูซง หมู่ที่ 3 บ้านตาสา หมู่ที่ 1 บ้านพร่อน จำนวน 25 ราย 22 ราย 13 ราย 9 รายและ 1 ราย ตามลำดับ สถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่ว่า ขณะนี้สถานการณ์ยังคงทรงตัว โดยส่วนใหญ่พบว่าผู้ป่วยโควิดมักจะติดเชื้อมาจากครัวเรือนหรือในชุมชน เบื้องต้นผู้ป่วยจังหวัดยะลาที่กำลังรักษาตัว            ทั้งในโรงพยาบาลหลักและโรงพยาบาลสนามนั้น มีกว่า 2,000 รายและเสียชีวิตสะสมไปแล้ว 81 ราย            พบว่าผู้ที่เสียชีวิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนโควิด อีกทั้งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุเกิน 60 ปี และผู้ป่วย 7 โรคเรื้อรัง และปัจจุบันนั้นประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อนได้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ไปเพียง 33.18 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ของศบค.จังหวัดยะลา อาศัยความในตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไข เพิ่มเติม มาตรา67 (3) บัญญัติให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) เทศบาลและองค์กรการบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกัน บำบัดโรค และระงับโรคติดต่อและระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2560 ข้อ 13 ข้อ 14 และ ข้อ 15 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกัน การควบคุม การแพร่ และการระงับการระบาดของโรคติดต่อ หรือสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโดยประสานหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อร่วมดำเนินการหรือสนับสนุนการดำเนินการ กรณีหน่วยงานที่รับผิดชอบไม่สามารถดำเนินการได้อย่างครอบคลุม หรือไม่สามารถระงับการระบาดของโรคติดต่อได้ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการในการป้องกัน และควบคุมโรค รวมทั้งเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ      ที่เกิดขึ้นในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม กรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน        ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อนได้รับวัคซีนครอบคลุมและเพื่อป้องกันโรคโควิด-19

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อนเชิงรุก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมสถานที่สำหรับผู้มารับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19
  2. กิจกรรมกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เ
  3. กิจกรรมกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อนได้รับการฉีดวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อนเชิงรุก
ตัวชี้วัด : วชี้วัด ร้อยละ 50 ของประชาชนในตำบลพร่อนได้รับการฉีดวัคซีนป้องโรคโควิด-19
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อนเชิงรุก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมสถานที่สำหรับผู้มารับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 (2) กิจกรรมกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เ (3) กิจกรรมกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีโรคระบาด กิจกรรม รณรงค์การฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลพร่อน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-29-05-64

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด