กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ทิ้งถูกถัง แยกถูกสี ลดโรคา ขจัดโรคภัย
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหนองหอยโข่ง
วันที่อนุมัติ 19 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางสายใจ ศรียาน 2.นายธนิศ บินรินทร์ 3.นางสาววัลวิภา หรนรุ่ง 4.นายสอและ สันตี 5.นางสาวนุชนาถ อับดุลลาห์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.973,99.85place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ทุกวันนี้ ปัญหาขยะ เป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาของคนในชุมชนและของโรงเรียนเกิดจากการไม่รู้จักการจัดการขยะที่่ถูกต้อง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน อาทิเช่น เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง เป็นต้น เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อมเกิดภาพไม่น่าดู สกปรก และน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมากเกิดกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีวิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  1. ร้อยละ 100 นักเรียนสามารถพกถุงผ้าและใส่ขยะของตนเองลงในถุง
  2. นักเรียนเดินหรือปั่นจักรยานมาโรงเรียนมากขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
  3. ร้อยละ 100 โรงเรียนได้ปลูกต้นไม้เพิ่มอากาศบริสุทธิ์
0.00
2 เพื่อให้โรงเรียนสะอาด น่าอยู่ ไม่เป็นแหล่งเชื้อโรค
  1. ร้อยละ 100 โรงเรียนมีการคัดแยกก่อนทิ้งลงถัง
  2. โรงเรียนมีขยะลดลงเมื่อเทียบกับก่อนดำเนินการ
0.00
3 เพื่อให้นักเรียน คณะครู บุคลากร และแกนนำ ผู้ปกครอง สามาถคัดแยกขยะ และสามารถนำขยะที่ใช้ได้อีกไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆได้
  1. ร้อยละ 100 คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และนักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะทิ้งลงถังถูกต้องตามประเภทของขยะ
  2. นักเรียนมีสิ่งประดิษฐ์และผลิตภัณฑ์จากขยะทุกชั้นเรียน และสามารถนำมาประดับและตกแต่งบริเวณโรงเรียนได้อย่างเหมาะสม
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและชุมชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  2. นักเรียนและชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  3. นักเรียนและชุมชนมีโรงเรียนที่สะอาด สวยงาม เป็นหล่งปลอดเชื้อโรค
  4. นักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
  5. โรงเรียนมีขยะลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.ย. 2564 15:19 น.