กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประนุท อิสโร

ชื่อโครงการ เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-16 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2564 ถึง 30 มกราคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3333-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2564 - 30 มกราคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 153,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโควิด -19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้และเนื่องจากตำบลเกาะนางคำเป็นพื้นที่ ที่ติดต่อกับจังหวัดสงขลา ประชาชนในพื้นที่บางส่วนต้องเดินทางไปทำงานในพื้นที่เสี่ยงซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด -19 ในตำบลเกาะนางคำ ทำให้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีประชาชนในพื้นที่ติดเชื้อ และมีกลุ่มเสี่ยงที่ต้องกักตัวเนื่องจากสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ หรือเดินทางมาจากจังหวัดที่เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดจำนวนมาก ส่งผลให้หน่วยงานในพื้นที่ต้องทำงานในพื้นที่เสี่ยงไปด้วย
เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด -19 เทศบาลตำบลเกาะนางคำจึงจัดทำโครงการจัดหาวัคซีนเอง เพื่อนำมาฉีดคนในพื้นที่ โดยการจองวัคซีนกับราชวิทยาลัยจุฬาลงกร ตามวันและเวลา ที่เปิดรับจองวัคซีนทางเลือก ซิโนฟาร์ม สำหรับองค์กร และดำเนินการตามขั้นตอนและเงื่อนไขที่ราชวิทยาลัยจุฬาลงกรกำหนด ตามเป้าหมายของรัฐบาลคือ ต้องสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ให้ได้เร็วที่สุดอย่างน้อย 70% ของจำนวนประชากร จึงเป็นที่มาของแนวคิดรวมกองทุนเป็นหนึ่งเดียว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันหมู่ในประชาชน
  2. เพื่อให้ประชาชนที่ทำงานในพื้นที่เสี่ยงสามารถเข้าถึงการฉีดวัคซีนได้มากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จองวัคซีนกับราชวิทยาลัยจุฬาลงกร
  2. ลงทะเบียนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีทะเบียนบ้านในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำที่ต้องการฉีดวัคซีนโควิด-19 โดยประสานกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนที่ทำงานในพื้นเสี่ยงที่ยังไม่รับการจัดสรรวัคซีนจากรัฐบาลมาลงทะเบียน
  3. ฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่ประชาชนที่ลงทะเบียน
  4. ประเมินอาการหลังการฉีดวัคซีน
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่ลงทะเบียนได้รับการฉีดวัคซีน
  2. สามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ประชาชนในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชาชนในพื้นที่ที่ลงทะเบียน ได้รับการฉีดวัคซีนซิโนฟาร์ม ร้อยละ 90
  2. สามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ประชาชนในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ
  3. ลดอัตราการเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ
  4. ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันหมู่ในประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ลงทะเบียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
0.00 80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่ทำงานในพื้นที่เสี่ยงสามารถเข้าถึงการฉีดวัคซีนได้มากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ลงทะเบียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
0.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันหมู่ในประชาชน (2) เพื่อให้ประชาชนที่ทำงานในพื้นที่เสี่ยงสามารถเข้าถึงการฉีดวัคซีนได้มากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จองวัคซีนกับราชวิทยาลัยจุฬาลงกร (2) ลงทะเบียนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีทะเบียนบ้านในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำที่ต้องการฉีดวัคซีนโควิด-19 โดยประสานกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนที่ทำงานในพื้นเสี่ยงที่ยังไม่รับการจัดสรรวัคซีนจากรัฐบาลมาลงทะเบียน (3) ฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่ประชาชนที่ลงทะเบียน (4) ประเมินอาการหลังการฉีดวัคซีน (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เร่งรัดการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่รับบริการ ในพื้นที่ตำบลเกาะนางคำ ปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3333-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประนุท อิสโร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด