กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู


“ โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ”

ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมัจฉา หมานสัน

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 04022560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 04022560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ คาดว่าในปี 2563 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 10 หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมดถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรืออีก 7 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทำให้เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวาง ได้แก่รายได้ต่อหัวประชากร การออม การลงทุน งบประมาณของรัฐบาลและการคลัง แรงงานและการจ้างงาน และการบริการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการเงินและสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิงหรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยที่ยังมิได้คำนึงถึงเรื่องค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูซึ่งสูงขึ้นตามอายุ ซึ่งอัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้นปลายของชีวิตเป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลาน เพราะมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง มีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะของการพัฒนาการ ซึ่งมีภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยลง เจ็บป่วยได้ง่ายรวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม สาเหตุเนื่องจากผู้สูงอายุและครอบครัวให้ความสำคัญในการดูแลรักษาด้านสุขภาพน้อยลง เช่นอาหาร การออกกำลังกาย การไม่ได้อยู่ร่วมกันในครอบครัวก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นได้ เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น เช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตังเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต ชุมชนบ้านเกาะยาวได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่าง ๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุก ๆ ด้านดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการโครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยสูงอายุหมู่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ โดยมุ่งหวังให้บุคคลในครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และครอบครัวและเพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาผู้สูงอายุไปสู่เป้าหมาย ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคม ภูมิปัญหา เศรษฐกิจ และสุขภาพ โดยไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
  2. 2.เพื่อเสริมสร้างทักษะให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  4. 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
  5. 5.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
  6. 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
    2. ผู้สูงอายุมีการปรับตัวได้ดีขึ้น สนใจเข้ากลุ่มร่วมกิจกรรมในชมรมอย่างต่อเนื่อง
    3. ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเองทั้งทางกาย ใจ สามารถจัดการสุขภาวะตนเองได้และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของชุมชน
    4. เกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
    5. ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อเสริมสร้างทักษะให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
    ตัวชี้วัด :

     

    6 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ (2) 2.เพื่อเสริมสร้างทักษะให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (4) 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน (5) 5.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ (6) 6.เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเพื่อชีวิตสดใสในวัยผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะยาว ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 04022560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมัจฉา หมานสัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด