กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอัญชลี เพียสุระ

ชื่อโครงการ โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3329-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2564 ถึง 31 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3329-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤศจิกายน 2564 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ โควิด - 19 ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายน ที่ผ่านพบว่ามี แนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่วันละ 20,000 รายต่อวัน ประชาชนทั่วไปไม่ได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70 ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขปกติจะรับไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาผู้ป่วย ยิ่งขณะนี้มีมาตราการจากภาครัฐเข้มงวดลดการสัญจร หรือลดการการทำกิจกรรมของประชาชนด้วยการปิดเมืองหรือ Lockdown ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด - 19 สามารถเป็นออกเป็น 3 ระดับ คือ อาหารหนัก (สีแดง) อาการปานกลาง (สีเหลือง) และอาการไม่รุนแรง (สีเขียว) เมือก่อนสถานสการณ์ระบาดที่รุนแรง ผู้ติดเชื้อจะถูกปฏิเสธและต้องรอคอยอยู่ที่บ้าน และทำให้คนใกล้ชิดต้องติดเชื้อต่อๆ และขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อจัดเตรีมที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียง ในการดูแลประชาชนในพื้นที่ที่มีผลบวกติดเชื้อสำหรับการพักคอยเตียงในการส่งตัวไปรับรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไป 2.เพื่อให้ประชาชนใกล้เคียงศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง 3.เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 4.เพื่อการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นตอนการวางแผนงาน
  2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง
  3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ความปลอดภัยเทปกกั้นพื้นที่หรืออุปกรณ์แสดงขอบเขตพื้นที่
  4. ไวนิลประชาสัมพันธ์
  5. ค่าตอบแทนบุคคลรักษาความปลอดภัยในศูนย์พักคอยฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการเฝ้าระวัง ป้องกัน การแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด 19 ส่งผลให้มีการระบาดในพื้นที่ 2.ประชาชนในพื้นที่มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันโรคและสามารถสามารถปฎิบัติตามมาตราได้ 3.มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด 19 ในพื้นที่ 4. ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการดูแลรักษาและคัดแยกอย่างถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด 19 ในพื้นที่ 5.เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านป้องกันและควบคุมโรคไวรัศโคโรนา 2019 อย่างมีประสิทธิภาพมีความปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขั้นตอนการวางแผนงาน

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงาน วันที่ 11 พ.ย. 65 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลควนเสาธง
1.นายกเทศมนตรีตำบลควนเสาธง หัวหน้าคณะทำงาน 2.ปลัดอำเภอประจำตำบลแม่ขรี คณะทำงาน 3.เกษตรตำบลที่ได้รับมอบหมาย คณะทำงาน 4.พัฒนาชุมชนที่ได้รับมอบหมาย คณะทำงาน 5.เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ได้รับมอบหมาย คณะทำงาน 6.หัวหน้ากลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลตะโหมด คณะทำงาน 7.ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านด่านโลด คณะทำงาน 8.ผู้อำนวยการโรงเรียนในพื้นที่ คณะทำงาน 9.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำบลแม่ขรีทุกคน คณะทำงาน 10.ปลัดเทศบาลตำบลควนเสาธง คณะทำงาน/เลขานุการ 11.ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปลักปอม คณะทำงาน/ผู้ช่วยเลขานุการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดประชุมวันที่ 11 พ.ย. 65 จำนวน 1 ครั้ง

 

10 0

2. ไวนิลประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำไวนิล จำนวน 2 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำไวนิล จำนวน 2 ป้าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน 1.1 ประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.2 อปท. ออกคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ควบคุมโรคปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ 1.3 ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน
  2. จัดทำโครงการเสนอต่อประธานกรรมการบริหารกองทุนฯหรือคณะกรรมการกองทุนฯหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธงแล้วแต่วงเงิน เพื่ออนุมัติงบประมาณในการจัดทำโครงการฯ
  3. ขั้นตอนการดำเนินงาน 3.1 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล เข้าใจสถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3.2 จัดหาและเตรียมสถานที่เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมเป็นศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจ (กรณีCommunity Isolation) หรือปรับปรุงบ้านของผู้ติดเชื้อให้เหมาะสม (โดยประหยัด ตามสภาพเศรษฐานะของประชาชน กรณี Home Isolation) 3.3 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการดูแลและรักษาประชาชนผู้ติดเชื้อระหว่างรอเตียงเพื่อส่งต่อ รพ. ตามมาตรฐาน หลักวิชาการ ไม่ซ้ำซ้อนกับที่หน่วยงานรัฐจัดงบประมาณให้ 3.4 ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเป็นระยะ 3.5 สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อจัดเตรีมที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียง ในการดูแลประชาชนในพื้นที่ที่มีผลบวกติดเชื้อสำหรับการพักคอยเตียงในการส่งตัวไปรับรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไป 2.เพื่อให้ประชาชนใกล้เคียงศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง 3.เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 4.เพื่อการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดเตรีมที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียง ในการดูแลประชาชนในพื้นที่ที่มีผลบวกติดเชื้อสำหรับการพักคอยเตียงในการส่งตัวไปรับรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไป 2.เพื่อให้ประชาชนใกล้เคียงศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง 3.เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 4.เพื่อการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนการวางแผนงาน (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง (3) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ความปลอดภัยเทปกกั้นพื้นที่หรืออุปกรณ์แสดงขอบเขตพื้นที่ (4) ไวนิลประชาสัมพันธ์ (5) ค่าตอบแทนบุคคลรักษาความปลอดภัยในศูนย์พักคอยฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดระบบศูนย์พักคอยรอเตียงใกล้บ้านใกล้ใจเทศบาลตำบลควนเสาธง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3329-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัญชลี เพียสุระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด