กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
รหัสโครงการ 65-L1531-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุน
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 60,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปฏิพัฒน์ ไกรสุทธิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.74,99.511place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2564 30 ก.ย. 2565 60,000.00
รวมงบประมาณ 60,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)
28.50
2 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)
17.00
3 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)
16.00
4 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
34.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ
22.85
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ คือการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10 (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่งในแต่ละปีงบประมาณนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง (LTC) เพิ่มเติมค่าใช้จ่ายได้อีกไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้ในวงเงินตามความจำเป็น โลม และครุภัณฑ์ที่จัดหาให้เป็นทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาวง มีการรับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง จึงของบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ร้อยละ 20 ของประมาณการรายรับประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เพื่อให้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาวง บังเกิดผลดีต่อทางราชการต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

28.50 90.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

17.00 17.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

16.00 16.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

34.00 34.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

22.85
6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. การจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ /คณะอนุกรรมการฯ ในการรับทราบ และพิจารณาการดำเนินงานกองทุน เช่น รับทราบผลการดำเนินงาน เห็นชอบรายงานทางการเงิน อนุมัติแผนการเงิน แผนสุขภาพ แผนดูแลผู้สูงอายรายบุคคล และโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
  2. จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำแผนสุขภาพกองทุน ในหรือนอกสถานที่
  3. จัดส่งกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ เข้าฝึกอบรม ศึกษาดูงานและเปลี่ยนเรียนรู้หรือประชุม หรือร่วมกับ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ได้อนุมัติโครงการ ให้กับกลุ่ม ชมรม หน่วยงาน อย่างน้อย 20 โครงการ ใช้จ่ายเงินกองทุนไปไม่น้อยกว่า 400000 บาท

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2564 15:51 น.