โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 |
รหัสโครงการ | 65-L5174-102-007 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลขุนตัดหวาย |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2565 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวัชรี ไพตรีจิตต์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายธนพนธ์ จรสุวรรณ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 3031 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน) | 3,032.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุดได้แก่กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่5 -14 ปีแต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วยการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้
ตำบลขุนตัดหวายเป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยเกือบทุกปีเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกรวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน โรงเรียนวัดอย่างต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขุนตัดหวายร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลขุนตัดหวายจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕6๕ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มวัย อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน |
0.00 | 2.00 |
2 | เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมโรคและสามารถรับสถานการณ์โรคได้อย่างทันท่วงที มีวัสดุ อุปกรณ์พร้อมใช้งานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก |
0.00 | 0.00 |
3 | เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก มีการพ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และพ่นหมอกควันควบคุมโรคครอบคลุมทุกหลังคาเรือนในรัศมี ๑๐๐ เมตร ผู้ป่วยทุกราย |
0.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 10,000.00 | 3 | 700.00 | 9,300.00 | |
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | 0.00 | |
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | กิจกรรมพ่นหมอกควัน | 0 | 9,300.00 | ✔ | 0.00 | 9,300.00 | |
1 มี.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 | กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ | 0 | 700.00 | ✔ | 700.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 10,000.00 | 3 | 700.00 | 9,300.00 |
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
- ประชาชนตลอดจนหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก
- ผู้นำชุมชน / ประชาชน/ มีความรู้ตลอดจนตระหนักถึงภัยไข้เลือดออก
- สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ก.ย. 2564 00:00 น.