กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ


“ โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรอุมา สวนจันทร์ รองปลัดอบต.ตาเนาะแมเราะ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65 - L4128 - 5 - 01 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65 - L4128 - 5 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ภายในประเทศ : การแพร่ระบาดของการติดเชื้อโควิด-19 ภายในประเทศไทยพบจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 11,754 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวนรวม 1,615,229 ราย หายป่วยสะสม 1,483,143 ราย และเสียชีวิตสะสม 16,850 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 การระบาดระลอกใหม่นี้มีรายงานผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื้อง และพบผู้ป่วยในหลายพื้นที่ ตลอดจนมีรายงานการติดต่อระหว่างคนสู่คนภายในประเทศ จึงเป็นเหตุผลสำคัญให้ทางองค์การอนามัยโลกได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินระดับโลก จากสถานการณ์การระบาดรอบใหม่ของประเทศไทย ทำให้ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกาศยกระดับตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะนั้นโดยที่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด - 19 ที่มีการกลายพันธุ์เป็นหลายสายพันธู์ยังคงทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเสี่ยงที่จะเกิดภาวะวิกฤตด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ เมื่อได้มีการประเมินสถานการณ์ภายหลังการมีผลใช้บังคับของข้อกำหนด (ฉบับที่ 27) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2564 ปรากฎว่ายังไม่อาจชะลออัตราการเพิ่มของจำนวนผู้ติดเชื้อและจำนวนผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังอาการโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงที่เป็นผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคดังกล่าว ไม่ให้ขยายวงระบาดสู่ชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ดำเนินการ จึงจัดทำโครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อให้ประชนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะได้มีที่พักอาศัยระหว่างรอเตียงว่าง เพื่อเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลและลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
  4. 4. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะได้มีที่พักระหว่างรอเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
  5. 5. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ปรับปรุงอาคารสถานที่
  2. ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (มื้อละ 50 บาท)
  3. ค่าน้ำดื่ม
  4. ค่าป้ายไวนิล (4ป้าย)
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในศูนย์ CI

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้มีการระบาดในพื้นที่ลดลง 2.ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามมาตรการได้ 3.ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการดูแลรักษาและคัดแยกอย่างถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในพื้นที่ 4.ประชาชนสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้ 5.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยใช้งบประมาณไปจำนวน 63,388 ดังนี้
1.ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 182 กล่อง กล่องละ 50 บาท เป็นเงิน 9,100 บาท
2.ค่าน้ำดื่ม เป็นเงิน 2,150 บาท
3.ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 970 บาท
- ป้ายไวนิลศูนย์ CI ขนาด 1.20x2.40 เมตร จำนวน 1 ป้าย
- ป้ายโฟมบอร์ด ขนาด 210x297 มิลลิเมตร จำนวน 5 ป้าย 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ศูนย์ CI เป็นเงิน 51,168 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตพื้นที่ตำบลที่รับผิดชอบ
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : คณะผู้บริหาร สมาชิกอบต. พนักงาน ลูกจ้างประจำ และลุกจ้างทั่วไปในองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะ หน่วยงานในเขตตำบลตาเนาะแมเราะ และประชาชนในเขตตำบลตาเนาะแมเราะมีความรู้และความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง
0.00

 

3 3. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะได้มีที่พักระหว่างรอเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ประชาชนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะมีที่พักอาศัยระหว่างรอเตียงว่าง เพื่อเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
0.00

 

5 5. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนได้อย่างเป็นระบบ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขได้ถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 (4) 4. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะได้มีที่พักระหว่างรอเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล (5) 5. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในชุมชนไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ปรับปรุงอาคารสถานที่ (2) ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (มื้อละ 50 บาท) (3) ค่าน้ำดื่ม (4) ค่าป้ายไวนิล (4ป้าย) (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในศูนย์ CI

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) ตำบลตาเนาะแมเราะ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65 - L4128 - 5 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรอุมา สวนจันทร์ รองปลัดอบต.ตาเนาะแมเราะ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด